|
อัพย.
|
อุทฺ
|
- นิบาตและอุปสรรคเติมหน้ากริยาและคำนาม (ที่บ่งบอกลักษณะที่ดีกว่าในเรื่องสถานที่ ตำแหน่ง ฐานะ อำนาจ ความสามารถ ฯลฯ)
- ขึ้น
- ที่เหนือขึ้นไป
-
|
|
อัพย.
|
อุป
|
- คำอุปสรรคที่เติมหน้าคำกริยาหรือคำนามที่ บ่งบอกความหมายไปทาง ไปต่อ พร้อมด้วย ใกล้ ภายใต้ ด้วย ลง เกือบ
-
|
|
อัพย.
|
ปฺร
|
- เป็นคำอุปสรรคเติมหน้ากริยา แปลว่า ข้างหน้า
- ออก
- ก่อน ถ้าเติมหน้าคำนามแปลว่า ยอดเยี่ยม
- รุนแรง
- มากเกินไป
|
|
อัพย.
|
อา
|
- นิบาตบอกความระลึก
- คำสำหรับแยกความ
- อุปสรรคหรือบทนำของคำกริยา
- นิบาตบอกอนุมติ
- จ้ะ
|
|
ปุล.
|
อาการ
|
- ลักษณะ
- รูปร่าง
- อัตลักษณ์
- กริยาท่าทางภายนอก
- ลักษณะภายนอก
|
|
นปุง.
|
อาขฺยาต
|
|
|
นปุง.
|
อาตฺมเนปท
|
- การผันกริยาที่บ่งบอกว่าการกระทำเป็นส่วนหนึ่งของตนเองหรือกลับคืนมาสู่ตนเอง
-
|
|
อัพย.
|
ปฺรติ
|
- (ใช้นำหน้ากริยาหรือคำนาม) ไปทาง
- ในทิศทางของ
- กลับ
- ในทางกลับกัน
- ต่อต้าน
|
|
กริยา
|
อกรฺมก
|
|
|
นปุง.
|
ทูร
|
- ระยะทางในบางกรณีใช้เป็นกริยาวิเศษณ์ เช่น
-
|
|
นปุง.
|
กฺริยาวิเศษณ
|
|
|
นปุง.
|
กฺริยาปท
|
|
|
อัพย.
|
นิ
|
- (ส่วนใหญ่ใช้เป็นคำนำหน้ากริยาหรือคำนาม) เข้า
- ลง
- ต่ำ
- ใต้
- ล่าง
|
|
อัพย.
|
นิสฺ
|
- ออก
- ไม่มี
- ปราศจาก
- ไร้ (ไม่นิยมใช้เดี่ยว ๆ ส่วนมากจะใช้ประกอบข้างหน้ากริยา มีการเปลี่ยนแปลงได้หลายรูปขึ้นอยู่กับพยัญชนะที่นำมาประกอบ เช่น in> (นิะ) inr! (นิรฺ) inz! (นิศฺ) in;! (นิษฺ) และ nI (นี) เป็นต้น)
-
|
|
นปุง.
|
วิกรณ
|
- การเปลี่ยนแปลง
- คำเติมที่เกี่ยวข้องกับการผันกริยาใช้แทรกระหว่างธาตุกับบุรุษปัจจัย
-
|
|
สตรี.
|
ธิกฺกริยา
|
- การประณาม
- การดูถูก
- การตำหนิ
- การเยาะเย้ย
-
|
|
นปุง.
|
การก
|
- ความสัมพันธ์ระหว่างคำนามกับคำกริยาในประโยคหรือระหว่างคำอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลต่อคำนามนั้น ๆ
- วากยสัมพันธ์
-
|
|
อัพย.
|
ปริ
|
- (คำที่ใช้เติมหน้ากริยาหรือคำนาม มีความหมายว่า) รอบ
- ใกล้ ๆ
-
|
|
อัพย.
|
ปรา
|
- (คำที่ใช้เติมหน้ากริยามีความหมายว่า) ออก
- กลับความ
-
|
|
นปุง.
|
ปรสฺไมปท
|
- สกรรมกริยา (กริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับจึงจะให้ความหมายสมบูรณ์)
- หนึ่งในสองวาจกของการผันกริยาสันสกฤต
-
|
|
คุณ.
|
สกรฺมก
|
- ที่เกี่ยวกับสกรรมกริยา
- สกรรม (กริยา)
- ที่ได้ผลดี
-
|
|
อัพย.
|
สฺม
|
- คำที่เพิ่มไปในส่วนของกริยาปัจจุบันกาล ซึ่งทำให้แสดงความหมายเป็นอดีตกาล
-
|