|
สตรี.
|
อูฒา
|
- หญิงที่แต่งงานแล้ว
- ภรรยา
- เมีย
-
|
|
สตรี.
|
อูฒิ
|
|
|
สตรี.
|
อูหินี
|
- การรวมกลุ่ม
- การชุมนุม
- ไม้กวาด
-
|
|
ปุล.
สตรี.
|
อูรฺมิ
|
- คลื่น
- ความเร็ว
- แถว
- ความอ่อนแอของมนุษย์
- ความทุกข์ทรมาน
|
|
สตรี.
|
อูติ
|
- การเย็บ
- การปกป้อง
- ความเพลิดเพลิน
-
|
|
สตรี.
|
อูรฺชา
|
|
|
สตรี.
|
อูรฺชฺ
|
|
|
สตรี.
|
อูรฺวรา
|
|
|
สตรี.
|
ภงฺกฺติ
|
- การแตก
- การทำให้แตก
- การแตกร้าว
- รอยแตกร้าว
-
|
|
สตรี.
|
ภณฺฑี
|
|
|
สตรี.
|
ภคฺนี
|
|
|
สตรี.
|
ภฤงฺคี
|
|
|
สตรี.
|
ภฤติ
|
- การสนับสนุน
- การค้ำจุน
- การบำรุงรักษา
- อาหาร
- การจ้าง
|
|
สตรี.
|
ภฤกุฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ภฤกุฏี
|
|
|
สตรี.
|
ภฤตฺยตา
|
- การรับใช้
- การบริการ
- การปรนนิบัติ
-
|
|
สตรี.
|
ภงฺคา
|
|
|
สตรี.
|
ภงฺคี
|
- การทำให้แตก
- การแตกแยก
- การแบ่งแยก
- การอธิบาย
- คลื่น
|
|
สตรี.
|
ภา
|
- แสงสว่าง
- ความงดงาม
- เงา
- ภาพสะท้อน
-
|
|
สตรี.
|
ภาษา
|
- การพูด
- การกล่าว
- คำพูด
- ถ้อยคำ
- ภาษา
|
|
สตรี.
|
โภคฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ภาคีรถี
|
|
|
สตรี.
|
ภาษิกา
|
|
|
สตรี.
|
ภาคิเนยี
|
- ลูกสาวของน้องสาวหรือของพี่สาว
-
|
|
สตรี.
|
ภามินี
|
|
|
สตรี.
|
ภาติ
|
|
|
สตรี.
|
ภาวินี
|
- หญิงที่งดงามหรือสูงศักดิ์
-
|
|
สตรี.
|
ภามา
|
- ผู้หญิงที่มีอารมณ์เร่าร้อน
- ผู้หญิงที่โกรธง่าย
-
|
|
สตรี.
|
ภารตี
|
|
|
สตรี.
|
ภารยษฺฏิ
|
- หมุด
- สลัก
- ไม้คานสำหรับหาบสัมภาระ
-
|
|
นปุง.
สตรี.
|
ภาสฺ
|
- แสงหรือรัศมีของแสง
- แสงสว่าง
- ความสว่าง
-
|
|
สตรี.
|
ภาวนา
|
- การพิสูจน์
- ความศรัทธา
- การไตร่ตรอง
- ชื่อของอุปนิษัท
- อีกา
|
|
สตรี.
|
ภารฺยา
|
|
|
สตรี.
|
เภกี
|
|
|
สตรี.
|
เภรี
|
|
|
สตรี.
|
ไภรวี
|
- พระแม่ทุรคา
- ชื่อของราคิณี (ในดนตรี)
-
|
|
สตรี.
|
ภี
|
|
|
สตรี.
|
ภกฺติ
|
- การแบ่งแยก
- ส่วนแบ่ง
- ความจงรักภักดี
- ความเชื่อ
- ความศรัทธา
|
|
สตรี.
|
ภีษา
|
|
|
สตรี.
|
ภฏฺฏินี
|
- ราชินีผู้ที่ยังไม่ได้เข้าพิธีสวมมงกุฎ
- ผู้หญิงที่มีตำแหน่งสูง
-
|
|
สตรี.
|
ภณิติ
|
|
|
สตรี.
|
ภณฺฑิ
|
|
|
สตรี.
|
ภคินี
|
|
|
สตรี.
|
ภีติ
|
|
|
สตรี.
|
ภวิตวฺยตา
|
|
|
สตรี.
|
ภทฺรา
|
- วัวตัวเมีย
- ชื่อวัน 2 ค่ำ 7 ค่ำ และ 12 ค่ำตามปฏิทินจันทรคติ
- แม่น้ำคงคาสวรรค์
-
|
|
สตรี.
|
ภรณี
|
|
|
สตรี.
|
ภรฺตฤทาริกา
|
|
|
สตรี.
|
ภู
|
|
|
สตรี.
|
ภูษา
|
- การประดับ
- การตกแต่ง
- เครื่องประดับ
-
|
|
สตรี.
|
ภูโคลวิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ภุกฺติ
|
- ความพอใจ
- ความเพลิดเพลิน
- อาหาร
- การกิน
-
|
|
สตรี.
|
ภูมิ
|
- โลก
- พื้นดิน
- ที่ดิน
- ดินแดน
- ทัศนคติ
|
|
สตรี.
|
ภูมิกา
|
|
|
สตรี.
|
ภูติ
|
- การเกิด
- การดำรงอยู่
- การมีอยู่
- ความร่ำรวย
- ความสง่างาม
|
|
สตรี.
|
ภุชา
|
- แขน
- มือ
- ม้วน
- ความโค้ง
- ขดของงู
|
|
สตรี.
|
ภูมี
|
- โลก
- พื้นดิน
- ที่ดิน
- ดินแดน
- ทัศนคติ
|
|
สตรี.
|
ภูตทยา
|
- ความเมตตากรุณาที่มีต่อสิ่งมีชีวิตทั้งปวง
-
|
|
สตรี.
|
ภวนฺตี
|
- ภรรยาที่มีคุณงามความดี
- กาลปัจจุบัน (ไวยากรณ์)
-
|
|
สตรี.
|
ษษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
หฺลาทินี
|
- ฟ้าแลบ
- ฟ้าผ่า
- สายฟ้าของพระอินทร์
-
|
|
สตรี.
|
ฆฏฺฏกุฏี
|
|
|
สตรี.
|
ฆฏฺฏนา
|
- การเขย่า
- การเคลื่อนที่
- การคน
- วิธีการดำรงชีพ
- อาชีพ
|
|
สตรี.
|
ฆณฺฏา
|
|
|
สตรี.
|
ฆฤณา
|
|
|
ปุล.
สตรี.
|
ฆฤษฺฏี
|
|
|
สตรี.
|
ฆฤตาจี
|
- กลางคืน
- ชื่อของพระนางสรัสวตีและของนางอัปสร
-
|
|
สตรี.
|
ฆฤตกุลฺยา
|
|
|
สตรี.
|
โฆษวตี
|
- เครื่องดนตรีประเภทพิณที่มีลักษณะพิเศษ
-
|
|
สตรี.
|
โฆณา
|
|
|
สตรี.
|
โฆฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
โฆฏี
|
|
|
สตรี.
|
โฆรา
|
|
|
สตรี.
|
ฆาตติถิ
|
- วันทางจันทรคติที่ไม่เป็นมงคล
-
|
|
สตรี.
|
ฆณฺฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
ฆฏิกา
|
- โอ่งน้ำขนาดเล็ก
- ภาชนะดินขนาดเล็ก
- หน่วยวัดเวลาเท่ากับ 24 นาที
-
|
|
สตรี.
|
ฆนปทวี
|
|
|
สตรี.
|
ฆนวลฺลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ฆฏา
|
- ความพยายาม
- กลุ่มคน
- การรวบรวม
- การรวมกลุ่ม
- จำนวน
|
|
สตรี.
|
ฆโฏธฺนี
|
- แม่วัวที่มีเต้านมที่สมบูรณ์
-
|
|
สตรี.
|
ฆฏทาสี
|
- แม่เล้า
- ผู้หญิงที่จัดหาหญิงโสเภณีมาให้ทำประเวณี
-
|
|
สตรี.
|
ฆฏี
|
- โอ่งน้ำขนาดเล็ก
- ภาชนะดินขนาดเล็ก
- หน่วยวัดเวลาเท่ากับ 24 นาที
-
|
|
สตรี.
|
ฆฏนา
|
- ความพยายาม
- สิ่งที่เกิดขึ้น
- เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
-
|
|
สตรี.
|
ฆูรฺณิ
|
|
|
สตรี.
|
ฆุรี
|
|
|
สตรี.
|
กฦปฺติ
|
- ความสำเร็จ
- การบรรลุผล
- การประดิษฐ์
- การจัดแจง
-
|
|
สตรี.
|
ผกฺกิกา
|
- ข้อเสนอที่ต้องพิสูจน์
- การแสดงออกเชิงตรรกะ
- การหลอกลวง
-
|
|
สตรี.
|
ผลฺคุ
|
- ผงสีแดงที่ใช้เล่นในเทศกาลโฮลี
- ฤดูใบไม้ผลิ
- ชื่อของแม่น้ำที่ไหลผ่านเมืองคยา
-
|
|
สตรี.
|
ผลฺคุนี
|
- ชื่อดาวนักษัตรมี 4 ดวง เรียกว่า ดาวเพดาน 2 ดวงหน้า เรียกว่า บุรพผลคุนี เป็นดาวฤกษ์ที่ 11 คือดาววัวตัวผู้ หรือดาวงูเมีย อีก 2 ดวง หลังเรียกว่าอุตรผลคุนี เป็นดาวฤกษ์ที่ 12 คือ ดาวเพดาน หรือดาววัวตัวเมีย
-
|
|
สตรี.
|
กฺษณทฺยุติ
|
|
|
สตรี.
|
กฺษณทฺยุติปฺรภา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษณทฺยุติปฺรกาศา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษณทา
|
|
|
สตรี.
|
โกฺษณิ
|
- โลก
- พื้นดิน
- แผ่นดิน
- เลขหนึ่ง (ในทางคณิตศาสตร์)
-
|
|
สตรี.
|
เกฺษาณิ
|
- โลก
- แผ่นดิน
- เลขหนึ่ง (ในทางคณิตศาสตร์)
-
|
|
สตรี.
|
กฺษานฺติ
|
|
|
สตรี.
|
กฺษาริกา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษานฺตา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษตฺรวิทฺยา
|
- ศาสตร์ทางการทหาร
- ศาสตร์หรือความรู้ที่กษัตริย์ครอบครองอยู่
-
|
|
สตรี.
|
เกฺษปณิ
|
|
|
สตรี.
|
กฺษณิกา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษณินี
|
|
|
สตรี.
|
กฺษตฺริยา
|
- ผู้หญิงของวรรณะที่เกี่ยวกับทหารหรือวรรณะที่ 2
-
|
|
สตรี.
|
กฺษตฺริยาณี
|
- ผู้หญิงในวรรณะกษัตริย์
- ภรรยาของกษัตริย์
-
|
|
สตรี.
|
กฺษตฺริยี
|
|
|
สตรี.
|
กฺษีราพฺธิชา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษติ
|
- ความบาดเจ็บ
- บาดแผล
- การทำให้บาดเจ็บ
- การทำลาย
- ความทรุดโทรม
|
|
สตรี.
|
กฺษมา
|
- ความอดทน
- พื้นดิน
- การให้อภัย
- ความเชื่อง
- โลก
|
|
สตรี.
|
กฺษปณี
|
|
|
สตรี.
|
กฺษปา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษตวฤตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
กฺษตโยนิ
|
- หญิงผู้ที่ไม่มีความบริสุทธิ์อีกต่อไป
-
|
|
สตรี.
|
กฺษุริกา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษุทฺรา
|
- ผึ้งชนิดหนึ่ง
- แมลงวัน
- แมลง
- ด้วง
- โสเภณี
|
|
สตรี.
|
กฺษุตฺ
|
|
|
สตรี.
|
กฺษุธฺ
|
|
|
สตรี.
|
กฺษุธา
|
|
|
สตรี.
|
ชญีปฺสา
|
- ความปรารถนาที่จะรู้
- การสอบถาม
- การขอข้อมูล
-
|
|
สตรี.
|
ชฺญปฺติ
|
- ความเข้าใจ
- ปัญญา
- การประกาศ
- ความพอใจ
- การทำให้เป็นที่รู้สึก
|
|
สตรี.
|
เอษณา
|
|
|
สตรี.
|
เอษา
|
|
|
สตรี.
|
ไอนฺทฺรี
|
|
|
สตรี.
|
ไอราวตี
|
- สายฟ้า
- ฟ้าแลบ
- ช้างตัวเมียของช้างของพระอินทร์
-
|
|
สตรี.
|
ไอศานี
|
|
|
สตรี.
|
เอกาวลี
|
- แถวเดียว
- สายเดียวของสร้อยไข่มุกหรือลูกปัดหรือดอกไม้
-
|
|
สตรี.
|
เอกจาริณี
|
- ภรรยาที่ซื่อสัตย์
- หญิงผู้ติดตามชายเพียงคนเดียว
- หญิงผู้ซื่อสัตย์
-
|
|
สตรี.
|
เอกจตฺวารึศตฺ
|
|
|
สตรี.
|
เอกตฺรึศตฺ
|
|
|
สตรี.
|
เอกชาติ
|
|
|
สตรี.
|
เอกปที
|
- ทางเดิน
- ฟุตบาท
- ทางเท้า
- บาทวิถี
-
|
|
สตรี.
|
เอกปตฺนี
|
|
|
สตรี.
|
เอกตา
|
- ความเป็นเอกภาพ
- ความสามัคคี
- เอกลักษณ์
- ลักษณะเฉพาะตัว
- ความเป็นหนึ่งเดียว
|
|
สตรี.
|
เอกวากฺยตา
|
- ความเป็นเอกฉันท์
- ความมีน้ำหนึ่งใจเดียวกัน
-
|
|
สตรี.
|
เอลา
|
- ต้นกระวาน หรือเมล็ดกระวาน
-
|
|
สตรี.
|
เอธา
|
- ความเจริญ
- ความรุ่งเรือง
- ความมั่งคั่ง
- ความสุข
-
|
|
สตรี.
|
ทฺโย
|
|
|
สตรี.
|
ทฺยาวาปฤถิวฺเยา
|
- สวรรค์และโลก
- ท้องฟ้าและแผ่นดิน
-
|
|
สตรี.
|
ทฺยุติ
|
- ความงามสง่า
- ความสว่างไสว
- ความเปล่งปลั่ง
- ความสวยงาม
- แสงสว่าง
|
|
สตรี.
|
ทฺยุสริตฺ
|
|
|
สตรี.
|
ฤษภี
|
- วัวตัวเมีย
- แม่หม้าย
- ผู้หญิงที่มีลักษณะพิเศษซึ่งเป็นลักษณะของเพศชาย
-
|
|
สตรี.
|
ฤณมุตฺกิ
|
- การปลดออกจากหนี้สิน
- การจ่ายหนี้
-
|
|
สตรี.
|
ฤจฺ
|
- ความงดงาม
- ความวิเศษ
- มันตระของคัมภีร์ฤคเวท
- การสรรเสริญ
- การบูชา
|
|
สตรี.
|
ฤจฺฉกา
|
- ความต้องการ
- ความประสงค์
- ความปรารถนา
-
|
|
สตรี.
|
ฤทฺธิ
|
- ความรุ่งเรือง
- ความมั่งคั่ง
- ความเจริญ
- อำนาจเหนือธรรมชาติ
- การเพิ่มพูน
|
|
สตรี.
|
ฤกฺสํหิตา
|
- การเก็บรวบรวมบทสวดของฤคเวท
-
|
|
สตรี.
|
ฤตียา
|
- การตำหนิ
- การติเตียน
- การด่าว่า
- การประณาม
- การดูหมิ่น
|
|
สตรี.
|
ฤตุมตี
|
- หญิงในระหว่างการมีประจำเดือน
-
|
|
สตรี.
|
ฤตุสฺนาตา
|
- หญิงผู้ที่ได้อาบน้ำหลังจากการมีประจำเดือน
-
|
|
สตรี.
|
อิภฺยา
|
|
|
ปุล.
สตรี.
|
อิษุ
|
|
|
ปุล.
สตรี.
|
อิษุธิ
|
|
|
สตรี.
|
อิงฺคุที
|
|
|
สตรี.
|
อิจฺฉา
|
|
|
สตรี.
|
อิฑา
|
- แผ่นดิน
- โลก
- คำพูด
- แม่วัว
- เครื่องสังเวย
|
|
สตรี.
|
อินฺทิรา
|
- ฉายาของพระลักษมี
- ความงดงาม
-
|
|
สตรี.
|
อิษฺฏิ
|
- ความปรารถนา
- การแสวงหา
- การประกอบยัญพิธี
- ยัญพิธี
- เครื่องบูชา
|
|
สตรี.
|
อิษฺฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
อิชฺยา
|
- ยัญพิธี
- ของขวัญ
- แม่วัว
- การบูชา
-
|
|
สตรี.
|
อิลา
|
- แผ่นดิน
- โลก
- คำพูด
- แม่วัว
- เครื่องสังเวย
|
|
สตรี.
|
อินฺทุมตี
|
|
|
สตรี.
|
อินฺทฺราณี
|
|
|
สตรี.
|
อิษฺฏกา
|
|
|
สตรี.
|
อิรา
|
- แผ่นดิน
- โลก
- น้ำ
- คำพูด
- เทพีแห่งถ้อยคำคือพระแม่สรัสวดี
|
|
สตรี.
|
อิยตฺตา
|
|
|
สตรี.
|
อุษา
|
|
|
สตรี.
|
อุษสฺ
|
- รุ่งอรุณ
- รุ่งเช้า
- แสงยามเช้า
-
|
|
สตรี.
|
อุษสี
|
- สนธยา
- ยามเย็น
- ช่วงสุดท้ายของกลางวัน
-
|
|
สตรี.
|
อุษฺฏฺรี
|
|
|
สตรี.
|
อุรฺณา
|
|
|
สตรี.
|
อุชฺชยินี
|
- เมืองหลวงของแคว้นอวันตี 1 ใน 16 แคว้นในสมัยพุทธกาล
-
|
|
สตรี.
|
อุตฺเตชนา
|
- ถ้อยคำที่ผลักดันหรือกระตุ้น
- การกระตุ้น
- การให้กำลังใจ
- สิ่งกระตุ้น
-
|
|
สตรี.
|
อุตฺตมา
|
|
|
สตรี.
|
อุตฺตรา
|
|
|
สตรี.
|
อุตฺตรกฺริยา
|
- พิธีศพ
- พิธีฌาปนกิจ
- พิธีฝังศพ
-
|
|
สตรี.
|
อุตฺตรมีมำสา
|
- ชื่อสำนักปรัชญาของอินเดีย
-
|
|
สตรี.
|
อุตฺตรปศฺจิมา
|
|
|
สตรี.
|
อุตฺตรปูรฺวา
|
|
|
สตรี.
|
อุทฺธฤติ
|
- การกระทำการดึงออกมา
- การสกัด
- การช่วยให้พ้น
- การช่วยเหลือโดยเฉพาะการช่วยให้พ้นหรือทำให้บริสุทธิ์จากบาป
-
|
|
สตรี.
|
อุทีจี
|
|
|
สตรี.
|
อุทนฺติกา
|
|
|
สตรี.
|
อุทริณี
|
|
|
สตรี.
|
อุทนฺยา
|
|
|
นปุง.
สตรี.
|
อุฑุ
|
|
|
สตรี.
|
อุกฺติ
|
- การพูด
- คำพูด
- การแสดงออก
- คำพูดหรือถ้อยคำที่มีคุณค่า
-
|
|
สตรี.
|
อุจฺฉิตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อุทฺคติ
|
|
|
สตรี.
|
อุทฺภิทฺวิทฺยา
|
- พฤกษศาสตร์
- ศาสตร์ที่เกี่ยวกับพืช
-
|
|
สตรี.
|
อุลฺกา
|
- ดาวตก
- ผีพุ่งใต้
- ไฟ
- ไฟที่ตกมาจากสวรรค์
-
|
|
สตรี.
|
อุมา
|
- ชื่อของพระแม่ปารวตี
- ความงดงาม
- ความเงียบสงบ
-
|
|
สตรี.
|
อุทฺภูติ
|
- การให้กำเนิด
- การปรากฏให้เห็น
- การเพิ่มมากขึ้น
-
|
|
สตรี.
|
อุขา
|
- กระทะหรือหม้อที่ทำอาหาร
- ภาชนะหุงต้ม
-
|
|
สตรี.
|
อุปชฺญา
|
- ความรู้ที่ถูกค้นพบหรือได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นมาด้วยตนเอง
-
|
|
สตรี.
|
อุปกฺรมณิกา
|
|
|
สตรี.
|
อุปานหฺ
|
|
|
สตรี.
|
อุปาสนา
|
|
|
สตรี.
|
อุปาธฺยายา
|
- ครูเพศหญิงผู้สอนทางศาสนาหรือผู้สอนเกี่ยวกับจิตวิญญาณ
-
|
|
สตรี.
|
อุปาธฺยายานี
|
- ภรรยาของครูผู้สอนพระเวทหรือเวทางคศาสตร์หรือเกี่ยวกับจิตวิญญาณ
-
|
|
สตรี.
|
อุปาธฺยายี
|
- ครูเพศหญิงผู้สอนทางศาสนาหรือผู้สอนเกี่ยวกับจิตวิญญาณ
-
|
|
สตรี.
|
อุปทา
|
- ของขวัญ
- ของถวายให้แก่พระราชา
- สินบน
-
|
|
สตรี.
|
อุปหตฺยา
|
- การประทุษร้าย
- อันตราย
- สภาวะของดวงตาที่ถูกทำให้พร่ามัว
-
|
|
สตรี.
|
อุปกฺริยา
|
- การช่วยเหลือ
- ความช่วยเหลือ
- วิธีการ
-
|
|
สตรี.
|
อุปจิติ
|
|
|
สตรี.
|
อุปลิปฺสา
|
|
|
สตรี.
|
อุปนิษทฺ
|
- คัมภีร์อุปนิษัทที่เป็นส่วนหนึ่งของวรรณกรรม ศาสนา และปรัชญาฮินดู
-
|
|
สตรี.
|
อุปสฺถิติ
|
- การปรากฏ
- การเข้าร่วม
- การเข้าใกล้
- ความใกล้ชิด
- การได้รับ
|
|
สตรี.
|
อุปชีวิกา
|
|
|
สตรี.
|
อุปกฤติ
|
- การช่วยเหลือ
- ความช่วยเหลือ
-
|
|
สตรี.
|
อุปการฺยา
|
- พลับพลาของพระราชา
- พระราชวัง
-
|
|
สตรี.
|
อุปกรฺณิกา
|
|
|
สตรี.
|
อุปกุลฺยา
|
|
|
สตรี.
|
อุปกถา
|
- เรื่องสั้น
- เรื่องเล่า
- นิทาน
-
|
|
สตรี.
|
อุปลพฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
อุปมา
|
- ความคล้ายคลึงกัน
- การอุปมา
- การเปรียบเทียบ
-
|
|
สตรี.
|
อุปสฺตรี
|
|
|
สตรี.
|
อุปปตฺติ
|
- การคิดอย่างมีเหตุผล
- การพิสูจน์
- วิธีการ
- ความช่วยเหลือ
- การช่วยเหลือ
|
|
สตรี.
|
อุปรติ
|
|
|
สตรี.
|
อุปสํภาษา
|
|
|
สตรี.
|
อุปเสวา
|
- การสักการะ
- การบูชา
- การรับใช้
-
|
|
สตรี.
|
อุปสตฺติ
|
- การเชื่อมกัน
- ของขวัญ
- พิธีบวงสรวง
-
|
|
สตรี.
|
อุปตฺยกา
|
- พื้นที่บริเวณเชิงเขา
- บริเวณพื้นที่ต่ำ
- หุบเขา
-
|
|
สตรี.
|
อุปธา
|
- การหลอกลวง
- การโกง
- การทดลองหรือการทดสอบความซื่อสัตย์
- วิธีการ
-
|
|
สตรี.
|
อุรคี
|
|
|
สตรี.
|
อุตฺกฺรานฺติ
|
- การขึ้นไปหรือการออกไป
- การทะยานสูงขึ้น
- การตาย
-
|
|
สตรี.
|
อุตฺเปฺรกฺษา
|
- ความเฉยเมย
- ความไม่สนใจ
- ภาพพจน์
- อุปมา
-
|
|
สตรี.
|
อุตฺกณฺฐา
|
- ความปรารถนาคนรักหรือสิ่งของอย่างมาก
- ความเศร้า
- ความเสียใจ
-
|
|
สตรี.
|
อุตฺกลิกา
|
- ความปรารถนาอย่างมาก
- ความเศร้า
- ความเสียใจ
- การขาดบุคคลบางคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งไป
- ต้นอ่อน
|
|
สตรี.
|
อุตฺปตฺติ
|
- การเกิดขึ้น
- การอุบัติขึ้น
- แหล่งกำเนิด
-
|
|
สตรี.
|
อุตฺปฺลวา
|
|
|
สตรี.
|
อุนฺนติ
|
- การยกระดับ
- ความเจริญรุ่งเรือง
-
|
|
สตรี.
|
อุรฺวี
|
|
|
สตรี.
|
อุรฺวรา
|
|
|
สตรี.
|
อุรฺวศี
|
- ชื่อของนางอัปสรหรือนางฟ้า
-
|
|
สตรี.
|
ทฤษทฺ
|
- หิน
- หินที่มีขนาดใหญ่
- แผ่นหินกลมหนาของหินโม่
-
|
|
สตรี.
|
ทฤกฺปฺริยา
|
|
|
สตรี.
|
ทฤษฺฏิ
|
- การมองเห็น
- สติปัญญา
- ทฤษฎี
- ความรู้
-
|
|
สตรี.
|
ทฤษฺฏิวิทฺยา
|
|
|
ปุล.
สตรี.
|
ทฤติ
|
- กระเป๋าหนังสำหรับใส่น้ำ
- ปลา
- ผิวหนัง
- หนัง (สัตว์)
-
|
|
สตรี.
|
ทฤศิ
|
- ดวงตา
- ศาสตร์
- แสงสว่าง
- การมองเห็น
-
|
|
สตรี.
|
ทฤศี
|
- ดวงตา
- ศาสตร์
- แสงสว่าง
- การมองเห็น
-
|
|
ปุล.
สตรี.
|
ทฤนฺผู
|
|
|
สตรี.
|
ทฤศฺ
|
|
|
สตรี.
|
ทฤศา
|
|
|
สตรี.
|
ทฤศทฺ
|
|
|
สตรี.
|
ทฤศทฺวตี
|
|
|
สตรี.
|
กฺลานฺติ
|
- ความเหนื่อยล้า
- ความเหน็ดเหนื่อย
-
|
|
สตรี.
|
คฺรามณี
|
|
|
สตรี.
|
คฺรามจรฺยา
|
|
|
สตรี.
|
คฺราเมยี
|
|
|
สตรี.
|
คฺรหทศา
|
- ตำแหน่งของดาวเคราะห์ในการโคจร
-
|
|
สตรี.
|
คฺรหณิ
|
- โรคบิด
- โรคท้องเสีย
- โรคท้องร่วง
-
|
|
สตรี.
|
คฺรหณี
|
- โรคบิด
- โรคท้องเสีย
- โรคท้องร่วง
-
|
|
สตรี.
|
คฺรหปีฑา
|
- การบีบบังคับที่เกิดจากดวงดาว
- ความเจ็บปวดจากราหู
- คราส
- เคราะห์ร้ายที่เกิดจากราหู
-
|
|
สตรี.
|
คฺรหยุติ
|
- การกุมกันของดาวเคราะห์หรือดาวเคราะห์กุมกัน
-
|
|
สตรี.
|
คฺรีวา
|
|
|
สตรี.
|
คฺรนฺถกุฏี
|
|
|
สตรี.
|
อีษา
|
- คานของรถม้า
- คานยาวที่อยู่ด้านหน้ารถม้าซึ่งเป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างรถม้ากับม้า
- ด้ามของคันไถ
-
|
|
สตรี.
|
อีษีกา
|
- แปรงของจิตรกรหรือนักวาดภาพ
- ลูกศร
- อาวุธ
- ลูกตาของช้าง
-
|
|
สตรี.
|
อีกฺษา
|
- การดู
- การชม
- สายตา
- การพิจารณา
-
|
|
สตรี.
|
อีหา
|
|
|
สตรี.
|
อีษิกา
|
- แปรงของจิตรกรหรือนักวาดภาพ
- ลูกศร
- อาวุธ
- ลูกตาของช้าง
-
|
|
สตรี.
|
อีติ
|
|
|
สตรี.
|
อีศิตา
|
- ความเหนือกว่า
- การมีอำนาจสูงสุด, 1 ใน 8 คุณลักษณะของพระศิวะ
-
|
|
สตรี.
|
อีศิตฺว
|
- ความเหนือกว่า
- การมีอำนาจสูงสุด, 1 ใน 8 คุณลักษณะของพระศิวะ
-
|
|
สตรี.
|
อีปฺสา
|
- ความต้องการ
- ความต้องการหรือความปรารถนาที่จะได้รับ
-
|
|
สตรี.
|
อีศานี
|
|
|
สตรี.
|
โกฺรฑา
|
- หน้าอก
- ภายในของสิ่งใด ๆ ก็ตาม
- โพรง
- ถ้ำ
- โพรงที่อยู่ภายใน
|
|
สตรี.
|
กฺรานฺติ
|
- การก้าว
- ก้าว
- ฝีเท้า
- แนวการโคจรของพระอาทิตย์
-
|
|
สตรี.
|
กฺรีฑา
|
- กีฬา
- เรื่องตลก
- การพูดตลก
- คำพูดตลก
-
|
|
สตรี.
|
กฺรีฑานารี
|
|
|
สตรี.
|
กฺรุธ
|
|
|
สตรี.
|
อภฺยาวฤตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อภฺยรฺหณา
|
- การเคารพ
- การบูชาสักการะ
- นมัสการ
-
|
|
สตรี.
|
อภฺยนุชฺญา
|
- การอนุญาต
- ความยินยอม
- คำสั่ง
- การอนุญาตให้ลางานได้
-
|
|
สตรี.
|
อภฺยสูยา
|
- การใส่ร้าย
- ความอิจฉา
- ความไม่พอใจ
- ความโกรธเคือง
-
|
|
สตรี.
|
อภฺยุปปตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อภฺยุนฺนติ
|
- ความเจริญรุ่งเรืองที่ยิ่งใหญ่
-
|
|
สตรี.
|
อภฺยรฺถนา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรภฤติ
|
- การเริ่มต้น
- การเซ่นไหว้
- การโยน
- การพัด
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรภา
|
- แสงสว่าง
- ความงดงาม
- การแผ่รัศมี
- ฉายาของพระแม่ทุรคา
- ชื่อเมืองของท้าวกุเวร
|
|
สตรี.
|
อภาวนา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรภาวนา
|
|
|
สตรี.
|
อภูมิ
|
- สถานที่หรือวัตถุที่ไม่เหมาะสม
-
|
|
สตรี.
|
ปรฺภูติ
|
- แหล่งที่มา
- มูลเหตุ
- อำนาจ
- ความแข็งแกร่ง
- ความพอเพียง
|
|
สตรี.
|
อภูติ
|
- การไม่มีอยู่จริง
- การไม่มีตัวตน
- การขาดพลัง
- ความยากจน
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรภูตา
|
- การปกครอง
- อำนาจสูงสุด
- ความเป็นเจ้าของ
-
|
|
สตรี.
|
อภยทกฺษิณา
|
- คำสัญญาว่าจะปกป้องจากภัยอันตราย
-
|
|
สตรี.
|
อฏฺฏาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
องฺโกลิกา
|
|
|
สตรี.
|
องฺกปาลิ
|
|
|
สตรี.
|
องฺกปาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรณาลิกา
|
- ทางน้ำไหล
- ร่องน้ำ
- ท่อระบายน้ำ
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรณาลี
|
- ทางน้ำไหล
- ร่องน้ำ
- ท่อระบายน้ำ
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรณติ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรณยินี
|
- หญิงผู้เป็นที่รัก
- ภรรยา
- สาวก
- แฟน
-
|
|
สตรี.
|
อณุภา
|
|
|
ปุล.
สตรี.
|
อณุเรณุ
|
|
|
สตรี.
|
อกฺษำติ
|
- การไม่ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่าง
- ความมุ่งร้าย
-
|
|
สตรี.
|
อกฺเษาหิณี
|
- กองทัพประกอบด้วยช้าง 21,870 ตัว รถม้า 21,870 คัน ม้า 65,610 ตัว และพลเดินเท้า 109,350 คน
-
|
|
สตรี.
|
อกฺษาวลี
|
|
|
สตรี.
|
อกฺษมาลา
|
|
|
สตรี.
|
อกฺษรี
|
|
|
สตรี.
|
อกฺษรศิกฺษา
|
|
|
สตรี.
|
อกฺษรชนนี
|
- ปากกา
- แม่ผู้ให้กำเนิดอักษร
-
|
|
สตรี.
|
อกฺษรตูลิกา
|
|
|
สตรี.
|
อกฺษตา
|
|
|
สตรี.
|
อกฺษตโยนิ
|
- หญิงพรหมจารี
- หญิงที่ไม่ด่างพร้อย
-
|
|
สตรี.
|
อกฺษวตี
|
- เกมที่เล่นโดยใช้ลูกเต๋า
- เกมลูกเต๋า
-
|
|
สตรี.
|
อกฺษยตฤตียา
|
- ชื่อของเทศกาล (วันที่ 3 ของปักษ์ข้างขึ้นของเดือนไวศาขะ ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม)
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรชฺญา
|
- ปัญญา
- ความรอบรู้
- หญิงที่ฉลาดหรือมีเหตุผล
- ชื่อของพระแม่สรัสวตี
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรชฺญปฺติ
|
- การสอน
- การให้ความรู้
- ข้อตกลง
- การนัดหมาย
- หลักคำสอน
|
|
สตรี.
|
อคฺนายี
|
- ชื่อของนางสวาหะผู้เป็นภรรยาของพระอัคนี
- ยุคที่ 2 ของชาวฮินดู
-
|
|
สตรี.
|
อตฺตา
|
|
|
สตรี.
|
อทฺยศฺวีนา
|
|
|
สตรี.
|
อํหติ
|
|
|
สตรี.
|
อํหตี
|
|
|
สตรี.
|
อคฺรปูชา
|
|
|
สตรี.
|
อคฺรสํธฺยา
|
|
|
สตรี.
|
องฺคุลิ
|
|
|
สตรี.
|
องฺคุลิมุทฺริกา
|
|
|
สตรี.
|
องฺคุลิมุทฺรา
|
|
|
สตรี.
|
องฺคุริ
|
|
|
สตรี.
|
องฺคุลี
|
|
|
สตรี.
|
องฺคุรี
|
|
|
สตรี.
|
องฺคาริกา
|
|
|
สตรี.
|
องฺคาริตา
|
|
|
สตรี.
|
องฺคีกฤติ
|
|
|
สตรี.
|
องฺคนา
|
|
|
สตรี.
|
อาภา
|
- แสง
- ความสว่าง
- ความคล้ายคลึง
- ความเหมือน
- ความมีสีสัน
|
|
สตรี.
|
อาฆฏฺฏนา
|
- การเคลื่อนที่
- การสั่น
- การสัมผัส
- การเสียดสี
-
|
|
สตรี.
|
อาโฆษณา
|
- การประกาศไปยังสาธารณชน
- การโฆษณา
-
|
|
สตรี.
|
ปฺราณนฺตี
|
- การจาม
- การร้องไห้สะอึกสะอื้น
-
|
|
สตรี.
|
อาชฺญา
|
- คำสั่ง
- บัญชา
- ความยินยอม
- การอนุญาต
-
|
|
สตรี.
|
ปฺราชฺญา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺราชฺญี
|
|
|
สตรี.
|
อาชฺญปฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อาเคฺนยี
|
- ชายาของพระอัคนิเทพ
- ทิศตะวันออกเฉียงใต้
-
|
|
สตรี.
|
อาทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
อากฺรานฺติ
|
- การเอาชนะ
- กำลัง
- ความกล้าหาญ
- การขึ้น
- การก้าวย่างหรือการเหยียบย่ำบน
|
|
สตรี.
|
อาพาธา
|
- ความทุกข์
- ความลำบาก
- ความเดือดร้อน
- โรคภัย
-
|
|
สตรี.
|
อาจารเวที
|
- พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ของอารยัน
- ชื่อของอารยวรตะ
-
|
|
สตรี.
|
อาจารฺยา
|
- ครูสตรีผู้สั่งสอนทางจิตวิญญาณ
-
|
|
สตรี.
|
อาจารฺยานี
|
- ภรรยาของครูหรืออาจารย์ผู้สั่งสอนทางจิตวิญญาณ
-
|
|
สตรี.
|
อาตฺเรยี
|
|
|
สตรี.
|
เอาษธิ
|
- สมุนไพร
- พืช (โดยทั่วไป)
- สมุนไพรที่ใช้ทำยา
-
|
|
สตรี.
|
โอษธิ
|
|
|
สตรี.
|
เอาษสี
|
- รุ่งสาง
- ฟ้าสาง
- รุ่งอรุณ
- รุ่งเช้า
- ตอนเช้า
|
|
สตรี.
|
เอาษธี
|
- สมุนไพร
- พืช (โดยทั่วไป)
- สมุนไพรที่ใช้ทำยา
-
|
|
สตรี.
|
โปฺรษิตภรฺตฤกา
|
- ผู้หญิงที่มีสามีหรือคนรักไม่อยู่
-
|
|
สตรี.
|
เอาจิตี
|
- ความถูกต้อง
- ความเหมาะสม
- ความมีมารยาท
-
|
|
สตรี.
|
อารูฒิ
|
- การลอยขึ้น
- การยกระดับ
- การเลื่อนฐานะ
-
|
|
สตรี.
|
เปฺราฒิ
|
- การโตเต็มที่
- การเพิ่มขึ้น
- การพัฒนาอย่างเต็มที่
- ความเป็นผู้ใหญ่
- ความยิ่งใหญ่
|
|
ปุล.
สตรี.
|
โอตุ
|
|
|
สตรี.
|
อาฒยตา
|
|
|
สตรี.
|
อาคติ
|
- การมาถึง
- การกลับมา
- การก่อกำเนิด
-
|
|
สตรี.
|
อาคสฺตี
|
|
|
สตรี.
|
อาหติ
|
- การฆ่า
- การตี
- การต่อย
- การชก
- การคูณ
|
|
สตรี.
|
อาหุติ
|
- เครื่องบูชาให้กับเทพ
- การถวายเครื่องสังเวยให้แก่เทพ
-
|
|
สตรี.
|
อาหูติ
|
|
|
สตรี.
|
อาภิธา
|
|
|
สตรี.
|
อาชิ
|
- สงคราม
- การรบ
- การต่อสู้
- พื้นที่ราบ
- สนามรบ
|
|
สตรี.
|
อปฺรติปตฺติ
|
- การละเลย
- การไม่เอาใจใส่
- การไม่คำนึงถึง
- การไม่นำพา
-
|
|
สตรี.
|
อารฺติ
|
- ความทุกข์ทรมาน
- ความเจ็บปวด
- ความเจ็บป่วย
- ความเสียหาย
- ส่วนปลายของธนู
|
|
สตรี.
|
อาติเถยี
|
- การให้การต้อนรับด้วยความยินดี
-
|
|
สตรี.
|
ปฺราปฺติ
|
- การได้รับ
- การบรรลุถึง
- การมาถึง
- การเกิดขึ้น
- การพบกับ
|
|
สตรี.
|
อาปฺติ
|
- การได้รับ
- การไปถึง
- การพบกับ
- การผูกมัด
- การเชื่อมกัน
|
|
สตรี.
|
อาศิสฺ
|
- การขอร้อง
- การขอ
- การอธิษฐาน
- ความปรารถนา
- ความต้องการ
|
|
สตรี.
|
อาชีวิกา
|
- อาชีพ
- วิธีการยังชีพ
- วิธีการเลี้ยงชีพ
-
|
|
สตรี.
|
อญฺชนา
|
|
|
สตรี.
|
อากฤษฺฏิ
|
- การดึง
- การฉุด
- การลาก
- การดึงดูดเข้าไปหา
-
|
|
สตรี.
|
อากฤติ
|
- รูปร่าง
- ร่างกาย
- พวก
- ชนิด
- รูปร่างหน้าตา
|
|
สตรี.
|
อากำกฺษา
|
- ความปรารถนา
- ความใคร่
- ความต้องการ
- ความประสงค์
-
|
|
สตรี.
|
อากาลิกี
|
|
|
สตรี.
|
อากศคงฺคา
|
- แม่น้ำคงคาที่ไหลลงมาจากท้องฟ้า
- ทางช้างเผือก
-
|
|
สตรี.
|
อากาศกกฺษา
|
|
|
สตรี.
|
อากาศวาณี
|
- เสียงจากท้องฟ้าหรือสวรรค์
-
|
|
สตรี.
|
อาลาพุ
|
|
|
สตรี.
|
อาลาพู
|
|
|
สตรี.
|
อาเลขนี
|
|
|
สตรี.
|
อาลุ
|
- เหยือกน้ำ
- ภาชนะใส่น้ำที่มีขนาดเล็ก
-
|
|
สตรี.
|
อปฺรมา
|
|
|
ปุล.
สตรี.
|
อามลก
|
- ต้นมะขามป้อมและลูกมะขามป้อม
-
|
|
สตรี.
|
อานติ
|
- การก้มตัวลง
- การคำนับ
- การโค้ง
- การโค้งคำนับหรือการแสดงความเคารพ
- การก้มคำนับ
|
|
สตรี.
|
อานุปูรฺวี
|
- ลำดับ
- ชั้น
- (ในกฎหมาย) ลำดับปกติของวรรณะ
-
|
|
สตรี.
|
อานฺวีกฺษิกี
|
- เหตุผล
- ตรรกะ
- ปรัชญาตรรกวิทยา
- อภิปรัชญา
-
|
|
สตรี.
|
อารฺทฺรา
|
|
|
สตรี.
|
อาขฺยา
|
|
|
สตรี.
|
อาขฺยาติ
|
- การเล่า
- การบอกกล่าว
- การติดต่อสื่อสาร
- การโฆษณา
- การประกาศ
|
|
สตรี.
|
อาขฺยายิกา
|
- การประพันธ์ร้อยแก้วประเภทหนึ่ง
- เรื่องราวหรือเรื่องเล่าที่ถูกทำให้เชื่อมต่อกันหรือเกี่ยวโยงกัน
-
|
|
สตรี.
|
อาปฤจฺฉา
|
|
|
สตรี.
|
อาปทฺ
|
- เคราะห์ร้าย
- ความทุกข์
- โชคร้าย
- ภัยพิบัติ
- ความเศร้าโศก
|
|
สตรี.
|
อาปทา
|
- เคราะห์ร้าย
- ภัยพิบัติ
- ความหายนะ
-
|
|
สตรี.
|
อาปคา
|
|
|
สตรี.
|
อาปตฺติ
|
- เคราะห์ร้าย
- โทษ
- การกระทำผิด
- การเกิดขึ้น
- การอุบัติขึ้น
|
|
สตรี.
|
อาปนฺนสตฺวา
|
|
|
สตรี.
|
อาราธนา
|
- การให้บริการ
- การบูชา
- การบวงสรวง
- การทำการสักการะเทพ
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรารพฺธิ
|
- การเริ่มต้น
- เสาสำหรับล่ามช้าง
-
|
|
สตรี.
|
อารติ
|
|
|
สตรี.
|
อาสกฺติ
|
- สิ่งที่แนบมาด้วย
- การผูกติดหรือการเสพติด
- การซุ่มโจมตี
- การวางไว้ข้างหลัง
-
|
|
สตรี.
|
อาสตฺติ
|
- ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด
- การรวมตัวกันที่ใกล้ชิด
- ความใกล้ชิด
- ผลประโยชน์
- ความยุ่งใจ
|
|
สตรี.
|
อปฺรสฺตุตปฺรศํสา
|
|
|
สตรี.
|
อาสุรี
|
|
|
สตรี.
|
อาสฺถา
|
- การพิจารณา
- การคำนึงถึง
- การดูแล
- การเอาใจใส่
- ความหวัง
|
|
สตรี.
|
ปฺราตสฺตฺริวรฺคา
|
|
|
สตรี.
|
อาตฺมวิทฺยา
|
- ความรู้เกี่ยวกับจิตวิญญาณหรือจิตวิญญาณสูงสุด
-
|
|
สตรี.
|
อาตฺมชา
|
|
|
สตรี.
|
อาตฺมสมฺภวา
|
|
|
สตรี.
|
อาตฺมวตฺตา
|
- การควบคุมตนเอง
- ความสุขุม
- ความรอบคอบ
-
|
|
สตรี.
|
อาตุรศาลา
|
|
|
สตรี.
|
พฺราหฺมณี
|
- ผู้หญิงวรรณะพราหมณ์
- ภรรยาของพราหมณ์
- กิ้งก่าชนิดหนึ่งที่มีหางแดง
- ต่อชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
พฺราหฺมี
|
- คำพูดหรือเทพีแห่งการพูด
- เรื่องเล่า
- ชายาของพระพรหม
- หญิงที่แต่งงานตามพิธีของพราหมณ์
- ปลาหรือกบตัวเมีย
|
|
สตรี.
|
ปฺราวฤษา
|
|
|
สตรี.
|
อาวฤตฺติ
|
- การกลับคืน
- การตอบกลับ
- การโต้ตอบ
- การหมุนรอบ
- การทำซ้ำ
|
|
สตรี.
|
อาวฤษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺราวฤติ
|
|
|
สตรี.
|
อาวลิ
|
- แถว
- ชุด
- ราชวงศ์
- เส้นที่ต่อเนื่อง
- เชื้อสาย
|
|
สตรี.
|
อาวสติ
|
- เที่ยงคืน
- กลางคืน
- ที่พักค้างคืน
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรารฺถนา
|
- การขอ
- การสวดมนต์
- การอ้อนวอน
-
|
|
สตรี.
|
อาธฺยาตฺม
|
- ความทรงจำที่เสียใจ
- ความทรงจำที่เศร้า
-
|
|
สตรี.
|
อารฺยา
|
- ชื่อของพระแม่ปารวตี
- หญิงผู้น่าเคารพ
- ประเภทของจังหวะหรือทำนองของบทร้อยกรอง
-
|
|
สตรี.
|
อายตฺติ
|
- วัน
- ความรัก
- กำลัง
- ความยาว
- ขอบเขต
|
|
สตรี.
|
อายติ
|
- อนาคตกาล
- ความมีอำนาจสูงสุด
- ความยาว
- การขยายออก
-
|
|
สตรี.
|
อาปฺตวาจฺ
|
- คำแนะนำของเพื่อน
- พระเวท
- การยืนยันที่น่าเชื่อถือหรือการยืนยันของบุคคลที่น่าเชื่อถือ
- การยืนยันที่ถูกต้อง
-
|
|
สตรี.
|
อาศํกา
|
- ความกลัว
- ความหวาดหวั่น
- ความสงสัย
- ความไม่แน่ใจ
- ความแคลงใจ
|
|
สตรี.
|
อาศํสา
|
- ความปรารถนา
- ความต้องการ
- ความคาดหวัง
- ความหวัง
- จินตนาการ
|
|
สตรี.
|
อาศา
|
- ความปรารถนา
- ความต้องการ
- ความหวัง
- ความคาดหวัง
- พื้นที่
|
|
สตรี.
|
อาศี
|
- การให้พร
- การขอพร
- เขี้ยวของงู
-
|
|
สตรี.
|
อพฺชา
|
|
|
สตรี.
|
อพุทฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
อจณฺฑี
|
|
|
สตรี.
|
อรฺจา
|
- การบูชา
- การบวงสรวง
- การแสดงความเคารพ
-
|
|
สตรี.
|
อจลา
|
|
|
สตรี.
|
อจลกนฺยา
|
|
|
สตรี.
|
อรฺจนา
|
- การบูชา
- การบวงสรวง
- การแสดงความเคารพ
-
|
|
สตรี.
|
อทตฺตา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรเทศินี
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรทีปฺติ
|
- แสงสว่าง
- ความมันวาว
- ความสุกใส
-
|
|
สตรี.
|
อศฺเลษา
|
- นักษัตรหมู่ที่ 9 ซึ่งมีดาวอยู่ 5 ดวง
- ความร้าวฉาน
- การแตกแยก
-
|
|
สตรี.
|
เปฺรกฺษา
|
- การมอง
- การดู
- การมองเห็น
- สายตา
- การแสดงหรือความบันเทิง
|
|
สตรี.
|
อรุจิ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรรูฒิ
|
- การเจริญเติบโต
- การเพิ่มขึ้น
-
|
|
สตรี.
|
อรุนฺธตี
|
|
|
สตรี.
|
เปฺรงฺขา
|
- การเต้นรำ
- การเที่ยวไป
- ชิงช้า
- เปล
-
|
|
สตรี.
|
เปฺรยสี
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรคลฺภา
|
- หญิงผู้กล้าหาญ
- ชื่อของพระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
อรฺคลิกา
|
- กลอนประตูที่ทำด้วยไม้หรือดาลอันเล็ก ๆ
-
|
|
สตรี.
|
อรฺคลา
|
- กลอนประตูที่ทำด้วยไม้หรือดาล
- คลื่น
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรหรฺษณี
|
|
|
สตรี.
|
อหํภาวมาน
|
- ความเย่อหยิ่ง
- อหังการ
- ความทะนงตัว
- ความโอหัง
- ความทะนงตัว
|
|
สตรี.
|
อหํภาวมติ
|
- ความเย่อหยิ่ง
- อหังการ
- ความทะนงตัว
- ความโอหัง
- ความทะนงตัว
|
|
สตรี.
|
อรฺหา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรเหลา
|
- ความขี้เล่น
- พฤติกรรมอิสระหรือที่ไม่ถูกจำกัด
-
|
|
สตรี.
|
อหลฺยา
|
|
|
สตรี.
|
อหมหมิกา
|
- การอ้างสิทธิ์หรือความหยิ่งทะนงเกี่ยวกับความเหนือกว่า
-
|
|
สตรี.
|
อหมคฺริกา
|
- การอ้างสิทธิ์ความเหนือกว่าเพื่อตนเอง
-
|
|
สตรี.
|
อรฺหณา
|
- การบูชา
- การกราบไหว้
- การเคารพ
-
|
|
สตรี.
|
อรฺหนฺตี
|
- คุณสมบัติเหมาะสมที่สมควรได้รับการบูชา
- ความเคารพ
- การบูชา
- การเคารพ
-
|
|
สตรี.
|
อภิภูติ
|
- ความพ่ายแพ้
- การดูถูกเหยียดหยาม
- ความอัปยศ
-
|
|
สตรี.
|
อภิชฺญา
|
|
|
สตรี.
|
อภิกฺรานฺติ
|
- การโจมตีที่กล้าหาญ
- การเริ่มต้น
-
|
|
สตรี.
|
อภิรุจิ
|
- ความงาม
- ความทะเยอทะยาน
- ความอยากได้ยศศักดิ์
-
|
|
สตรี.
|
อภิคุปฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อภินิษฺปตฺติ
|
- การทำให้สำเร็จ
- การทำให้บรรลุผล
-
|
|
สตรี.
|
อภินิวฤตฺติ
|
- การทำเสร็จ
- การสำเร็จลุล่วง
- การบรรลุผล
- ความสำเร็จ
-
|
|
สตรี.
|
อภิชาติ
|
|
|
สตรี.
|
อภิกางฺกฺษา
|
- ความประสงค์
- ความปรารถนา
- ความต้องการ
-
|
|
สตรี.
|
อภิมติ
|
- ความเคารพตัวเอง
- ความหยิ่งยโส
- ความภาคภูมิใจ
- ความรัก
- ความปรารถนา
|
|
สตรี.
|
อภิมุขตา
|
- การปรากฏ
- ความใกล้ชิด
- การเป็นที่ชื่นชอบ
- ความโปรดปราน
-
|
|
สตรี.
|
อภินีติ
|
- ไมตรี
- ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
- ความสุภาพ
- ท่า
- ท่าทาง
|
|
สตรี.
|
อภิขฺยา
|
- ชื่อ
- การเรียก
- การปราศรัย
- ความงาม
- เกียรติยศ
|
|
สตรี.
|
อภิปตฺติ
|
- การเข้ามาใกล้
- ความสำเร็จ
- การทำเสร็จ
-
|
|
สตรี.
|
อภิรกฺษา
|
- การปกป้องที่ครบสมบูรณ์
- การคุ้มครองทั้งหมด
-
|
|
สตรี.
|
อภิสาริณี
|
- หญิงที่พบคนรักโดยการนัดพบ
-
|
|
สตรี.
|
อภิสาริกา
|
- หญิงที่พบคนรักโดยการนัดพบ
-
|
|
สตรี.
|
อภิสนฺธา
|
|
|
สตรี.
|
อภิวฤทฺธิ
|
- การเจริญเติบโต
- การเพิ่มขึ้น
-
|
|
สตรี.
|
อภิวฺยกฺติ
|
- การแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัด
- การประกาศ
- การปรากฏ
-
|
|
สตรี.
|
อภิธา
|
|
|
สตรี.
|
อภิธฺยา
|
|
|
สตรี.
|
อภิยาญฺจา
|
- การร้องขอ
- การอ้อนวอน
- การขอร้อง
-
|
|
สตรี.
|
อภิศงฺกา
|
- ความกลัว
- ความสงสัย
- ความกังวล
-
|
|
สตรี.
|
อภิศสฺติ
|
- การด่าว่า
- การดูถูก
- การละเมิด
- การใส่ร้าย
- คำสาปแช่ง
|
|
สตรี.
|
อคฺนิกฺรีฑา
|
- การทำให้ส่องสว่าง
- ความสว่าง
- ประทัด
- ดอกไม้ไฟ
-
|
|
สตรี.
|
อคฺนิครฺภา
|
|
|
สตรี.
|
อคฺนิมุขี
|
|
|
สตรี.
|
องฺคิกา
|
- เสื้อท่อนบนของสตรี
- เสื้อรัดหน้าอก
- ยกทรง
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรกฺริยา
|
- กระบวนการ
- ขั้นตอน
- วิธี
- ลำดับความสำคัญ
- ระดับความสูง
|
|
สตรี.
|
อพฺชินี
|
|
|
สตรี.
|
อพฺธิชา
|
|
|
สตรี.
|
อรฺจิ
|
|
|
สตรี.
|
อทิติ
|
|
|
สตรี.
|
อหึสา
|
- การไม่เบียดเบียน
- การเว้นจากการทำร้าย
- ความไม่เป็นพิษเป็นภัย
- อหิงสา
-
|
|
สตรี.
|
อหินกุลิกา
|
- ความเป็นศัตรูตามธรรมชาติที่มีอยู่ระหว่างงูกับพังพอน
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรีติ
|
- ความปีติ
- ความยินดี
- ความพึงพอใจ
- ความสุข
- ความเมตตา
|
|
สตรี.
|
ปฺรวฺรชฺยา
|
- การออกจากบ้าน (พิธีกรรมแรกของฆราวาสที่ประสงค์จะบวชเป็นภิกษุ)
- คำสั่งของนักบวชในศาสนา
- ชีวิตของนักบวช
- การสัญจรไปมาในฐานะนักบวช
-
|
|
สตรี.
|
อลินี
|
|
|
สตรี.
|
อมฺพิกา
|
- มารดา
- มารดาของปาณฑุ
- คำที่ใช้แสดงถึงความรักและความเคารพ หมายถึง “สตรีที่ดี” “มารดาที่ดี”
-
|
|
สตรี.
|
อมฺลิกา
|
- มารดา
- มารดาของปาณฑุ
- คำที่ใช้แสดงถึงความรักและความเคารพ หมายถึง “สตรีที่ดี” “มารดาที่ดี”
-
|
|
สตรี.
|
อนฺธิกา
|
- กลางคืน
- การเล่นเกมประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
อทฺริกีลา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรปิตามหี
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรสิทฺธิ
|
- ชื่อเสียง
- ความสำเร็จ
- เครื่องประดับ
- การตกแต่ง
- ข้อพิสูจน์
|
|
สตรี.
|
ปฺรสิติ
|
- ตาข่ายจับนก
- เอ็น
- โซ่ตรวน
- การโจมตี
- การโยน
|
|
สตรี.
|
อสฺมิตา
|
- ความถือตนเองว่าสำคัญ
- อติมานะ (ปรัชญา)
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรสฺถิติ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรติภา
|
- ภาพลักษณ์
- แสงสว่าง
- ความงดงาม
- รูปร่าง
- ความเหมาะสม
|
|
สตรี.
|
ปฺรติภาษา
|
|
|
สตรี.
|
อติภูมิ
|
- จำนวนมากเกินไป
- พื้นที่ที่มีขอบเขตกว้างขวาง
- จุดที่สูงที่สุด
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรติชฺญา
|
- การยอมรับ
- คำสัญญา
- คำสาบาน
- การประกาศ
- การแจ้ง
|
|
สตรี.
|
ปฺรติพุทฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรติจฺฉายา
|
- ภาพสะท้อน
- ความเหมือน
- รูปภาพ
- เงา
- ฉายา
|
|
สตรี.
|
ปฺรติหารภูมิ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรติศฺรุติ
|
|
|
สตรี.
|
อติถิกฺริยา
|
- การต้อนรับด้วยความยินดี
- ความมีมิตรไมตรีจิต
-
|
|
สตรี.
|
ปรฺติกฤติ
|
- การต่อต้าน
- การคัดค้าน
- การป้องกัน
- การตอบโต้
- รูปภาพ
|
|
สตรี.
|
อติกถา
|
- เรื่องเล่าที่ถูกพูดเกินความจริง
- การพูดเหลวไหล
- การพูดเรื่อยเปื่อย
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรติมา
|
- รูปภาพ
- สัญลักษณ์
- รูปปั้น
- การสะท้อน
- ภาพสะท้อน
|
|
สตรี.
|
ปฺรติษฺฐา
|
- การยืน
- การพักผ่อน
- การคงอยู่
- ความมั่นคง
- จุดยืน
|
|
สตรี.
|
ปรฺติขฺยาติ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรติปทฺ
|
- วิธีเข้าถึง
- ทางเข้า
- การเริ่มต้น
- ปัญญา
- วันแรกของปักษ์ทางจันทรคติ
|
|
สตรี.
|
ปฺรติปทา
|
- วันแรกของปักษ์ทางจันทรคติ
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรติปที
|
- วันแรกของปักษ์ทางจันทรคติ
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรติปตฺติ
|
- การได้รับรู้
- การรับรู้
- ความรู้
- ปัญญา
- การยินยอม
|
|
สตรี.
|
อรฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรติสํขฺยา
|
|
|
สตรี.
|
อติสนฺธฺยา
|
- ช่วงเวลาสนธยา
- ช่วงเวลาโพล้เพล้
- พลบค่ำ
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรติสฺปรฺธา
|
|
|
สตรี.
|
อติวฺยาติ
|
- การยืดหยุ่นกฎเกณฑ์มากเกินไป
-
|
|
สตรี.
|
อติศโยกฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อวิษี
|
|
|
สตรี.
|
อวิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
อวิกฤติ
|
- ความไม่เปลี่ยนแปลง
- การไม่มีการเปลี่ยนแปลง
-
|
|
สตรี.
|
อวิรติ
|
- ความต่อเนื่อง
- ความไม่ขาดสาย
- ความไม่ยับยั้ง
-
|
|
สตรี.
|
อธิปตฺนี
|
- หญิงผู้มีอำนาจสูงสุดของประเทศ
-
|
|
สตรี.
|
อธิโรหิณี
|
|
|
สตรี.
|
อธิตฺยกา
|
- พื้นที่ที่อยู่ส่วนบนของภูเขา
- ที่ราบสูง
-
|
|
สตรี.
|
อศฺวินี
|
- ชื่อของนักษัตรลำดับแรกในนักษัตรทั้ง 27 (ภายหลังเปลี่ยนเป็น 28 นักษัตร)
- ชื่อของภรรยาเทพอัศวิน แต่ในเวลาต่อมาเป็นชื่อของมารดาเทพอัศวิน
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรชา
|
- การให้กำเนิด
- การเกิด
- ทายาท
- ครอบครัว
- สิ่งมีชีวิต
|
|
สตรี.
|
อชา
|
- แพะตัวเมีย
- ธรรมชาติ
- มายา
- สิ่งลวงตา
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรชาติ
|
- การให้กำเนิด
- การคลอด
- พลังแห่งการสร้างสรรค์
-
|
|
สตรี.
|
อชนิ
|
|
|
สตรี.
|
อชีวนิ
|
- ความตาย
- มรณกรรม
- ภาวะที่ตาย
- การไม่มีชีวิตอยู่
- การไม่มีตัวตน
|
|
สตรี.
|
อชนนิ
|
|
|
สตรี.
|
อชยา
|
|
|
สตรี.
|
อชฺยุกา
|
- นางคณิกา
- โสเภณี
- หญิงงามเมือง
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรกฤติ
|
- ธรรมชาติ
- ลักษณะ
- รัฐธรรมนูญ
- ต้นกำเนิด
- วิสัย
|
|
สตรี.
|
อกฤตา
|
- ลูกสาวที่ไม่ได้ถูกวางอยู่ระดับเดียวกับ ลูกชาย
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรกาศนารี
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรกีรฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อกีรฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อกลฺกา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรกลฺปนา
|
|
|
สตรี.
|
อกรณิ
|
- ความไม่เป็นการ
- ความผิดมาดคลาดหมาย
-
|
|
สตรี.
|
อลํกฺริยา
|
|
|
สตรี.
|
อลํกฤติ
|
- การตกแต่ง
- เครื่องประดับ
- เครื่องประดับทางวาทศิลป์
-
|
|
สตรี.
|
อลาพุ
|
- น้ำเต้า
- ภาชนะใส่ของเหลวที่ทำจากน้ำเต้า
-
|
|
สตรี.
|
อลาพู
|
- น้ำเต้า
- ภาชนะใส่ของเหลวที่ทำจากน้ำเต้า
-
|
|
สตรี.
|
อมฺโภชินี
|
- ต้นอ่อนของดอกบัวหรือดอกของบัว
- กลุ่มดอกบัว
- สถานที่ที่เต็มไปด้วยดอกบัว
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรมา
|
- พื้นฐาน
- มาตรวัด
- มาตรวัดที่ถูกต้อง
- ความรู้ที่ถูกต้อง
-
|
|
สตรี.
|
อมานนา
|
- การขาดความเคารพ
- การดูถูก
- การดูหมิ่น
- การไม่เชื่อฟัง
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรมาตามหี
|
|
|
สตรี.
|
อมาวสี
|
- วันพระจันทร์ดับ
- วันเดือนมืด
-
|
|
สตรี.
|
อมฺพา
|
- มารดา
- มารดาของปาณฑุ
- คำที่ใช้แสดงถึงความรักและความเคารพ หมายถึง “สตรีที่ดี” “มารดาที่ดี”
-
|
|
สตรี.
|
อมฺพุชาสนา
|
|
|
สตรี.
|
อมฺพุโรหิณี
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรมทา
|
- หญิงสาวผู้งดงาม
- ภรรยาหรือหญิงโดยทั่วไป
- ราศีกันย์ของจักรราศี
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรมีติ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรมีลา
|
- ความง่วงนอน
- ความอ่อนเพลียจากความเกียจคร้านหรือความเหนื่อยล้า
-
|
|
สตรี.
|
อมติ
|
- เวลา
- พระจันทร์
- ความยากจน
- ความขาดแคลน
- รูปทรง
|
|
สตรี.
|
อมลา
|
|
|
สตรี.
|
อมฺลา
|
|
|
สตรี.
|
อมฺลานิ
|
|
|
สตรี.
|
อมมตา
|
- ความไม่สนใจ
- ความเฉยเมย
- ความไม่แยแส
-
|
|
สตรี.
|
อมราวตี
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรมุทฺ
|
- ความยินดี
- ความสุข
- ความพึงพอใจ
-
|
|
สตรี.
|
อศฺวภา
|
|
|
สตรี.
|
อนามิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรนาลี
|
|
|
สตรี.
|
อนามา
|
|
|
สตรี.
|
อนาสฺถา
|
- การขาดความเคารพ
- ความไม่สนใจ
-
|
|
สตรี.
|
อนารฺตวา
|
- เด็กหญิงที่ยังไม่ถึงวัยแรกรุ่น
- รุ่นกระเตาะ
-
|
|
สตรี.
|
อนาวฤษฺฏิ
|
- ความแห้งแล้ง
- การที่ฝนไม่ตก
-
|
|
สตรี.
|
อนฺทุ
|
|
|
สตรี.
|
อนีหา
|
- ความไม่เอาใจใส่
- การขาดความกระตือ รือร้น
-
|
|
สตรี.
|
อนีกินี
|
- กองทัพขนาดเล็ก (ของอินเดียโบราณ)
-
|
|
สตรี.
|
อนีติ
|
- ความไม่เหมาะสม
- ความอยุติธรรม
-
|
|
สตรี.
|
อนนฺตา
|
|
|
สตรี.
|
อนสูยา
|
- ผู้ไม่มีความริษยา
- ชื่อชายาของฤาษีอัตริ
-
|
|
สตรี.
|
อนฺตรฺทศา
|
- เวลาที่ดาวเคราะห์ใช้อิทธิพลของมันเหนือชะตากรรมของมนุษย์
-
|
|
สตรี.
|
อนฺตรฺเวที
|
- เขตพื้นที่ระหว่างแม่น้ำคงคาและแม่น้ำยมุนา
-
|
|
สตรี.
|
อนฺตรฺวตฺนี
|
|
|
สตรี.
|
อนฺตฺเยฏิ
|
|
|
สตรี.
|
อนุภูติ
|
|
|
สตรี.
|
อนุษฺฏุภฺ
|
- ชื่อของประเภทจังหวะการออกเสียงในบทร้อยกรองที่มี 4 บาท บาทละ 8 พยางค์ บทหนึ่งประกอบด้วย 32 พยางค์
-
|
|
สตรี.
|
อนุชฺญา
|
|
|
สตรี.
|
อนุกฺรมณี
|
|
|
สตรี.
|
อนุกฺรมณิกา
|
|
|
สตรี.
|
อนุตฺตรา
|
|
|
สตรี.
|
อนุปฺรสกฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อนุกฺริยา
|
|
|
สตรี.
|
อนุจฺฉิตฺติ
|
- การที่ไม่สามารถกำจัดหรือทำลายได้
- การที่ไม่สามารถทำลายได้
-
|
|
สตรี.
|
อนุมิติ
|
- การสรุปจากหลักฐานที่มอบให้ไว้
-
|
|
สตรี.
|
อนุชา
|
|
|
สตรี.
|
อนุกฤติ
|
|
|
สตรี.
|
อนุกางฺกฺษา
|
|
|
สตรี.
|
อนุกมฺปา
|
- ความเห็นใจ
- ความสงสาร
- ความอ่อนโยน
-
|
|
สตรี.
|
อนุกูลตา
|
- ความช่วยเหลือ
- ความสอดคล้องกัน
- ความเป็นมิตร
-
|
|
สตรี.
|
อนุมติ
|
- การตกลง
- บัญชา
- คำสั่ง
- การอนุญาต
-
|
|
สตรี.
|
อนุนีติ
|
- ความมีมารยาท
- ความสุภาพเรียบร้อย
-
|
|
สตรี.
|
อนุปทวี
|
|
|
สตรี.
|
อนุปสฺถิติ
|
- การไร้ความสามารถ
- การขาด
- การไม่อยู่
-
|
|
สตรี.
|
อนุปลพฺธิ
|
- การไม่รับรู้
- การมองไม่เห็น
- การไม่รู้สึก
-
|
|
สตรี.
|
อนุปปตฺติ
|
- ความล้มเหลว
- สิ่งที่ไม่สามารถนำไปปรับใช้ได้
-
|
|
สตรี.
|
อนุราธา
|
|
|
สตรี.
|
อนูราธา
|
|
|
สตรี.
|
อนุรกฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อนุรติ
|
|
|
สตรี.
|
อนุสารณา
|
- การไล่ตาม
- การก้าวไปตาม
- การติดตาม
-
|
|
สตรี.
|
อนุยาตฺรา
|
- ข้าราชบริพาร
- จำนวนหรือคนที่ไปเข้าร่วม
- บริวาร
- กลุ่มผู้ติดตาม
-
|
|
สตรี.
|
อนฺเวษณา
|
- การค้นหา
- การสืบสวน
- การตรวจสอบ
-
|
|
สตรี.
|
อนเวกฺษา
|
- การไม่คำนึงถึง
- การไม่เอาใจใส่
-
|
|
สตรี.
|
อนวสฺถา
|
- ความไม่สิ้นสุด
- สถานะไม่มั่นคง
-
|
|
สตรี.
|
อนฺวเวกฺษา
|
- ความเคารพนับถือ
- ความเห็นใจผู้อื่น
-
|
|
สตรี.
|
อนวธานตา
|
- การขาดความเอาใจใส่
- ความพลั้งเผลอ
-
|
|
สตรี.
|
อนฺยปูรฺวา
|
- การแต่งงานใหม่ของแม่หม้าย
-
|
|
สตรี.
|
อศฺวศาลา
|
|
|
สตรี.
|
อษฺฏาวึศติ
|
|
|
สตรี.
|
อสฺตฺรจิกิตฺสา
|
|
|
สตรี.
|
อษฺฏกา
|
- วันที่ 7 8 หรือ 9 หลังจากวันพระจันทร์ เต็มดวง
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรขฺยา
|
- การมองเห็น
- การปรากฏ
- ความสว่าง
- ความงดงาม
- การรับรู้
|
|
สตรี.
|
ปฺรขฺยาติ
|
- ชื่อเสียง
- กิตติศัพท์
- คำสรรเสริญ
-
|
|
สตรี.
|
อปภูติ
|
|
|
สตรี.
|
อปฺ
|
|
|
สตรี.
|
อปรฺณา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรปา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรเปาตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
อปากฤต
|
|
|
สตรี.
|
อปตรฺปา
|
|
|
สตรี.
|
อเปกฺษา
|
- การเอาใจใส่
- การดูแล
- ความหวัง
- ความเกี่ยวข้อง
- ความจำเป็น
|
|
สตรี.
|
อปคา
|
|
|
สตรี.
|
อปคติ
|
|
|
สตรี.
|
อปหานิ
|
|
|
สตรี.
|
อปกฺติ
|
- ความไม่เจริญเต็มวัย
- อาหารไม่ย่อย
-
|
|
สตรี.
|
อปจิติ
|
- พิธีบูชา
- การแสดงความเคารพนับถือ
- ความสูญเสีย
-
|
|
สตรี.
|
อปีติ
|
|
|
สตรี.
|
อปวิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
อปเกาศลี
|
|
|
สตรี.
|
อปลาษิกา
|
|
|
สตรี.
|
อปนุตฺติ
|
- การโยกย้ายหรือส่งไป
- การขจัดออกไป
- การเอาออกไป
-
|
|
สตรี.
|
อปฏี
|
- ผ้าม่าน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อยู่รอบเต็นท์)
-
|
|
สตรี.
|
อปรา
|
|
|
สตรี.
|
อปเรตรา
|
|
|
สตรี.
|
อปรติ
|
- การชะงัก
- การหยุด
- ความไม่พอใจ
-
|
|
สตรี.
|
อปฺสรา
|
|
|
สตรี.
|
อปฺสรสฺ
|
- เทพสตรีบริวารของพระอินทร์
- นางสวรรค์
- นางฟ้า
-
|
|
สตรี.
|
อปุสฺกา
|
|
|
สตรี.
|
อปวฤตฺติ
|
- การชะงัก
- การหยุด
- การสิ้นสุด
-
|
|
สตรี.
|
อฏา
|
- การมีนิสัยชอบท่องเที่ยวหรือเตร็ดเตร่ไปอย่างไร้จุดหมาย (โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักบวชของศาสนาที่ท่องเที่ยวขอทานไปตามที่ต่าง ๆ)
-
|
|
สตรี.
|
อฏวิ
|
|
|
สตรี.
|
อฏวี
|
|
|
สตรี.
|
อรณฺยานี
|
|
|
สตรี.
|
อรณฺยจนฺทฺริกา
|
- เครื่องประดับที่ไร้ประโยชน์
-
|
|
สตรี.
|
อราลา
|
- หญิงที่ไม่ซื่อสัตย์หรือไม่บริสุทธิ์
- หญิงงามเมือง
-
|
|
สตรี.
|
อรติ
|
- ความไม่พอใจ
- ความวิตกกังวล
- ความไม่สบายใจ
- ความเสียใจ
-
|
|
สตรี.
|
อรวินฺทินี
|
- ต้นอ่อนของบัว
- การรวบรวมดอกบัว
- สถานที่ที่อุดมไปด้วยดอกบัว
- การรวมกลุ่มกันของดอกบัว
-
|
|
สตรี.
|
อรมติ
|
- ความงดงาม
- ความยอดเยี่ยม
- ความวิเศษ
- คนไข้
- คนป่วย
|
|
สตรี.
|
ปฺรสฤติ
|
- การไหลเวียน
- ความคืบหน้า
- ความรวดเร็ว
- ความเร่งรีบ
- ฝ่ามือ
|
|
สตรี.
|
อสํคติ
|
- ความไม่ลงรอยกัน
- ความเข้ากันไม่ได้
- ความเป็นไปไม่ได้
- การไม่สมาคมกับ
- การไม่มีความสัมพันธ์กับ
|
|
สตรี.
|
ปฺรสํขฺยา
|
- จำนวนทั้งหมด
- การสรุป
- การสะท้อน
- การพิจารณา
-
|
|
สตรี.
|
อกฺกา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรสาทนา
|
- การบริการ
- การบูชา
- ความบริสุทธิ์
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรสาทนี
|
- การบริการ
- การบูชา
- ความบริสุทธิ์
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรสาธิกา
|
- แม่บ้าน
- คนรับใช้ผู้หญิง
- ข้าวป่า
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรสกฺติ
|
- การยึดมั่น
- ความจงรักภักดี
- การเชื่อมต่อ
- ความเกี่ยวข้อง
- การบังคับใช้
|
|
สตรี.
|
ปฺรสตฺติ
|
- ความชัดเจน
- ความบริสุทธิ์
- ความมีน้ำใจ
- ความพึงพอใจ
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรสวิตรี
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรสฺกนฺทิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรสมีกฺษา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรสฺนุษา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรสฺตาวนา
|
- การสรรเสริญ
- เหตุแห่งการสรรเสริญหรือกล่าวถึง
- การเริ่มต้น
- บทนำ
- คำเบิกฉากหรือเบิกโรงที่กล่าวโดยผู้จัดการและหนึ่งในนักแสดง
|
|
สตรี.
|
อสตายี
|
|
|
สตรี.
|
อสตี
|
- ภรรยาที่นอกใจหรือไม่บริสุทธิ์
-
|
|
สตรี.
|
อสตฺกฺริยา
|
- การปฏิบัติที่ไม่ดี
- การกระทำที่ไม่ดี
- ความประพฤติไม่ดี
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรสู
|
- แม่
- ลาตัวเมีย
- หญ้าอ่อน
- ไม้เลื้อย
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรสูติ
|
- การคลอด
- การนำออกมา
- การวางไข่
- การเกิด
- การปรากฏ
|
|
สตรี.
|
ปฺรสูติกา
|
- ผู้หญิงที่เพิ่งคลอด
- การให้กำเนิด
- แม่วัวที่ตกลูก
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรสุปฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อสูยา
|
- ความไม่พอใจ
- ความขุ่นเคือง
- ความอิจฉา
- ความริษยา (เกี่ยวกับความสุขของคนอื่น)
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรสวสฺถลี
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรโตลี
|
- ถนน
- ทางหลวง
- ถนนสายหลักที่ผ่านเมือง
- ผ้าพันแผลชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรตีกฺษา
|
- การรอคอย
- ความคาดหวัง
- การพิจารณา
- ความใส่ใจ
- ความเคารพ
|
|
สตรี.
|
ปฺรตีจี
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรตีหารี
|
- หญิงเฝ้าประตู
- คนเฝ้าประตูโดยทั่วไป
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรตีติ
|
- ความเชื่อมั่น
- ความรู้
- ความเคารพ
- ความพอใจ
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรตติ
|
- การแพร่กระจาย
- การขยาย
- เถาวัลย์
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรตุษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรตฺยาปตฺติ
|
- การกลับคืน
- การซ่อมแซม
- การไถ่ถอนความผิด
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรตฺยาสตฺติ
|
- การพบปะอย่างใกล้ชิด
- ความร่าเริง
- การเปรียบเทียบ (ในทางไวยากรณ์)
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรตฺยาศา
|
- ความเชื่อมั่น
- ความเชื่อถือ
- ความหวัง
- ความคาดหวัง
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรตฺยุกฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ปรฺตยุตฺกฺรานฺติ
|
- การเตรียมการ
- ขั้นตอนแรกในกิจการใด ๆ
- การออกไปโจมตีศัตรู
- การประกาศสงคราม
-
|
|
สตรี.
|
พฺรหฺมภูติ
|
|
|
สตรี.
|
อนฺนปูรฺณา
|
- รูปร่างหนึ่งของพระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
อวชฺญา
|
- การดูหมิ่น
- การไม่เคารพนับถือ
- การขาดความเคารพ
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรวฤตฺติ
|
- การก้าวไปข้างหน้า
- ความคืบหน้า
- การปรากฏ
- ต้นกำเนิด
- ความเพียรพยายาม
|
|
สตรี.
|
ปฺรวฤทฺธิ
|
- การเพิ่มขึ้น
- การเจริญเติบโต
- ความเจริญรุ่งเรือง
-
|
|
สตรี.
|
อวฤษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
อวกฺรานฺติ
|
- การเข้าใกล้
- การเคลื่อนต่ำลงมา
-
|
|
สตรี.
|
อวาจี
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรวาหี
|
|
|
สตรี.
|
อวาปฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อวรุทฺธิ
|
- การขัดขวาง
- การยับยั้ง
- ความอดทน
-
|
|
สตรี.
|
อวคติ
|
- ความรู้ที่แท้จริง
- ความรู้
- ความเข้าใจ
-
|
|
สตรี.
|
อวคุณฺฐิกา
|
- ผ้าคลุมหน้า
- ผ้าม่าน
- ฉาก
- เครื่องบัง
-
|
|
สตรี.
|
อวเหล
|
- การขาดความเคารพนับถือ
- การดูหมิ่นเหยียดหยาม
- ความไม่เอาใจใส่
-
|
|
สตรี.
|
อวเหลา
|
- การขาดความเคารพนับถือ
- การดูหมิ่นเหยียดหยาม
- ความไม่เอาใจใส่
-
|
|
สตรี.
|
อวกฺริยา
|
|
|
สตรี.
|
อวนิ
|
|
|
สตรี.
|
อวนฺติ
|
- ชื่อแม่น้ำ
- ชื่อของรัฐและคนที่อยู่อาศัย
-
|
|
สตรี.
|
อวฏิ
|
|
|
สตรี.
|
อวกฺลฤปฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อวเลหิกา
|
- ยาป้ายลิ้นผสมน้ำตาล
- การเลีย
- การสกัด
- การคั้น (โสม)
-
|
|
สตรี.
|
อวลีลา
|
|
|
สตรี.
|
อวมติ
|
- นาย
- เจ้าของ
- ความชัง
- ความลบหลู่
-
|
|
สตรี.
|
อวนี
|
|
|
สตรี.
|
อวนติ
|
- การก้ม
- การโค้ง
- ความอ่อนน้อมถ่อมตน
-
|
|
สตรี.
|
อวนฺตี
|
- ชื่อแม่น้ำ
- ชื่อของรัฐและคนที่อยู่อาศัย
-
|
|
สตรี.
|
อวฏี
|
|
|
สตรี.
|
อวโรธิกา
|
- สตรีผู้อาศัยอยู่ในส่วนสถานที่พักชั้นใน
-
|
|
สตรี.
|
อวรติ
|
|
|
สตรี.
|
อวรชา
|
|
|
สตรี.
|
อรฺวตี
|
- ม้าตัวเมีย
- หญิงที่เป็นผู้จัดหาโสเภณีมาให้ทำประเวณี
-
|
|
สตรี.
|
อวสฺถา
|
- การปรากฏตัว (ในศาล)
- ความมั่นคง
- สภาพ
- สถานการณ์
-
|
|
สตรี.
|
อวตรณิกา
|
- คำนำ
- บทสวดที่อยู่ต้นของงานเขียน
-
|
|
สตรี.
|
อวฺยาปฺติ
|
- ความไม่ครอบคลุม
- ความครอบคลุมหรือขอบเขตที่ไม่เพียงพอ
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรวฺยกฺติ
|
|
|
สตรี.
|
อวฺยวสฺถา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรถา
|
- ชื่อเสียง
- การขยาย
- การเติบโต
-
|
|
สตรี.
|
อรฺถสิทฺธิ
|
- อรรถสิทธิ์
- ความสำเร็จ
- ความสมปรารถนาในวัตถุที่พึงปรารถนาของคน ๆ หนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
อรฺถนา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรธี
|
|
|
สตรี.
|
อธวา
|
|
|
สตรี.
|
อธฺวคา
|
|
|
สตรี.
|
อธฺเยษณา
|
|
|
สตรี.
|
อโยนิชา
|
|
|
สตรี.
|
อโยธฺยา
|
- เมืองหลวงแห่งราชอาณาจักรของพระราม
-
|
|
สตรี.
|
อยนสํกฺราติ
|
- ทางผ่านจักรราศี
- แนวการโคจรของพระอาทิตย์
-
|
|
สตรี.
|
อยนสํกฺรม
|
- ทางผ่านจักรราศี
- แนวการโคจรของพระอาทิตย์
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรยุกฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรศํสา
|
- การยกย่อง
- การชมเชย
- ชื่อเสียง
- เกียรติศักดิ์
-
|
|
สตรี.
|
ปฺรศานฺติ
|
- ความสงบ
- ความเงียบ
- การพักผ่อน
- การดับ
- การสูญเสีย
|
|
สตรี.
|
อศนิ
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรศสฺติ
|
- การคำแนะนำ
- ยกย่อง
- ชื่อเสียง
- ความต้องการ
- บทกวีเล็ก ๆ ที่เขียนสรรเสริญ
|
|
สตรี.
|
อศนา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺรศุทฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
ภฺรานฺติ
|
- การหมุนรอบ
- การโคจร
- ความผิดพลาด
- ความเชื่อที่ผิด
- ความสับสน
|
|
สตรี.
|
ภฺราตฤหตฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ภฺรมิ
|
- ลมบ้าหมุน
- ลมหมุน
- น้ำวน
- ความผิดพลาด
-
|
|
สตรี.
|
ภฺรฺู
|
|
|
สตรี.
|
ภฺรูกุฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ภฺรูกุฏี
|
|
|
สตรี.
|
พฤหติกา
|
- เสื้อผ้าส่วนบน
- เสื้อคลุม
- ผ้าคลุมโต๊ะ
-
|
|
สตรี.
|
พาณิณี
|
- นักแสดงหญิง
- นักเต้น
- หญิงที่ฉลาดหรือน่าสนใจ
- หญิงขี้เมา
-
|
|
สตรี.
|
พาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
พาลี
|
|
|
สตรี.
|
พาธนา
|
- ความไม่สบายใจ
- ความทุกข์
- ความเจ็บปวด
-
|
|
สตรี.
|
พหุลา
|
|
|
สตรี.
|
พลากา
|
|
|
สตรี.
|
พนฺที
|
|
|
สตรี.
|
พนฺธฺยา
|
- หญิงที่เป็นหมัน
- วัวที่เป็นหมัน
- น้ำหอมชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
พุภูษา
|
- ความปรารถนาจะเป็นหรือมีชีวิตอยู่
-
|
|
สตรี.
|
พุภุกฺษา
|
|
|
สตรี.
|
พุทฺธิ
|
- การรับรู้
- ปัญญา
- ความรู้
- ความเข้าใจ
- การแยกแยะ
|
|
สตรี.
|
พุทฺธิมตฺตา
|
|
|
สตรี.
|
พุลิ
|
- ความกลัว
- อวัยวะเพศหญิง
- โยนี
-
|
|
สตรี.
|
จณฺฑา
|
- พระแม่ทุรคา
- หญิงที่เร่าร้อน
-
|
|
สตรี.
|
จณฺฑี
|
- พระแม่ทุรคา
- หญิงที่เร่าร้อน
-
|
|
สตรี.
|
จกฺรคฺรหณี
|
- เชิงเทิน
- ปราการ
- เครื่องป้องกัน
-
|
|
สตรี.
|
จกฺรคติ
|
- การปฏิวัติ
- การเปลี่ยนแปลง
- การหมุนรอบ
-
|
|
สตรี.
|
จกฺรเนมิ
|
- เส้นรอบวงของล้อ
- ขอบด้านนอกของล้อ
- ชื่อของหนึ่งในบรรดาแม่ที่ดูแลพระสกันทะ
-
|
|
สตรี.
|
จญฺจุ
|
|
|
สตรี.
|
จญฺจลา
|
|
|
สตรี.
|
จญฺจู
|
|
|
สตรี.
|
โจทนา
|
- การกระตุ้น
- แรงบันดาลใจ
- การให้กำลังใจ
- การเร้าใจ
- ศีล
|
|
สตรี.
|
โตฺรฏิ
|
|
|
สตรี.
|
โจริกา
|
|
|
สตรี.
|
จารุวฺรตา
|
- ผู้หญิงที่ถือศีลอดตลอดทั้งเดือน
-
|
|
สตรี.
|
โจฏี
|
- กระโปรงชั้นใน
- กระโปรงซับใน
-
|
|
สตรี.
|
จาริกา
|
|
|
สตรี.
|
จามุณฺฑา
|
- รูปลักษณะที่น่าหวาดกลัวของพระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
จานฺทฺรี
|
|
|
สตรี.
|
จาตุรี
|
- ความชำนาญ,
- ความฉลาด
- ความหลักแหลม
- ความมีอัธยาศัยดี
-
|
|
สตรี.
|
จารฺวี
|
- ชายาของท้าวกุเวร
- หญิงที่งดงาม
- แสงจันทร์
-
|
|
สตรี.
|
จรฺจา
|
- การเรียน
- การอ่านซ้ำ ๆ
- การสนทนา
- การโต้แย้งหาเหตุผล
- การไต่สวน
|
|
สตรี.
|
เจลิกา
|
- เสื้อท่อนบนของสตรี
- เสื้อรัดรูป
-
|
|
สตรี.
|
เจฏิกา
|
- หญิงรับใช้
- ทาสหญิง
- บริจาริกา
-
|
|
สตรี.
|
เจษฺฏา
|
- อุตสาหะ
- ความพยายาม
- ความพากเพียร
- การเคลื่อนไหว
- การแสดง
|
|
สตรี.
|
เตฺรตา
|
- กลุ่มที่มีจำนวน 3
- ไฟศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 3
- ยุคที่ 2 ใน 4 ยุคของชาวฮินดู
-
|
|
สตรี.
|
เจตนา
|
- ชีวิต
- จิตใจ
- ความมีสติ
- ความตระหนักรู้
- ปัญญา
|
|
สตรี.
|
จณฺฑิกา
|
|
|
สตรี.
|
จรฺจิกา
|
- การเรียน
- การอ่านซ้ำ ๆ
- การสนทนา
- การโต้แย้งหาเหตุผล
- การไต่สวน
|
|
สตรี.
|
จนฺทฺริกา
|
- แสงจันทร์
- การส่องแสงสว่าง
- การทำให้แจ่มแจ้ง
-
|
|
สตรี.
|
จมฺปกมาลา
|
- พวงมาลัยดอกจำปา
- ชื่อของเครื่องประดับสำหรับสวมใส่ที่คอของสตรี
- ฉันทลักษณ์ชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
จมฺปู
|
- บทประพันธ์ที่ได้รับการแต่งขึ้นอย่างประณีตโดยในเรื่องเดียวนั้นมีลักษณะการแต่งแบบผสมคือมีทั้งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไปจนจบ
-
|
|
สตรี.
|
จรฺมปฺรเสวิกา
|
|
|
สตรี.
|
จมรี
|
- วัวทิเบตชนิดหนึ่ง
- จามรี
- จามรีตัวเมีย
-
|
|
สตรี.
|
จรฺมปาทุกา
|
|
|
สตรี.
|
จมตฺกฤติ
|
- ความอัศจรรย์
- ความประหลาดใจ
- การชื่นชม
- การแสดง
-
|
|
สตรี.
|
จมู
|
- กองทัพ
- การจัดแบ่งกองทัพที่ประกอบด้วยช้าง 729 เชือก รถม้า 729 คัน ม้า 2,187 ตัว และพลเดินเท้า 3,645 คน
-
|
|
สตรี.
|
จนฺทฺรกานฺตา
|
- แสงจันทร์
- กลางคืน
- ภรรยาของพระจันทร์
-
|
|
สตรี.
|
จนฺทฺรกลา
|
- 1 หน่วยหรือเศษ 1 ส่วน 16 ของจันทรมณฑล
- กลองชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
จนฺทฺรเรขา
|
- หนึ่งหน่วยหรือเศษ 1 ส่วน 16 จันทร- มณฑล
-
|
|
สตรี.
|
จนฺทฺรเลขา
|
- หนึ่งหน่วยหรือเศษ 1 ส่วน 16 จันทร- มณฑล
-
|
|
สตรี.
|
จนฺทฺรศาลิกา
|
- แสงจันทร์
- ห้องที่อยู่ด้านบนสุดของบ้าน
-
|
|
สตรี.
|
จนฺทฺรศาลา
|
- แสงจันทร์
- ห้องที่อยู่ด้านบนสุดของบ้าน
-
|
|
สตรี.
|
ตฺรปา
|
- ความอาย
- ความพอประมาณ
- ความสุภาพ
- ความถ่อมตัว
- หญิงที่เต็มไปด้วยราคะ
|
|
สตรี.
|
จปลา
|
- ฟ้าแลบ
- ภรรยาผู้ไม่ซื่อสัตย์
- พระแม่ลักษมี
- ลิ้น
-
|
|
สตรี.
|
จรฺปฏี
|
- แผ่นแป้งกลมบาง
- จะปาตีประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
จฏุลา
|
|
|
สตรี.
|
จตุษฺกี
|
|
|
สตรี.
|
จตุษฺปที
|
- บทหนึ่งของกวีที่โดยมากมีอย่างน้อย 4 บรรทัด
-
|
|
สตรี.
|
จตุะศาลี
|
- รูป 4 เหลี่ยมล้อมรอบด้วยอาคาร 4 หลัง
-
|
|
สตรี.
|
จตุรฺทศี
|
- วันที่ 14 ของปักษ์ข้างขึ้นข้างแรม
-
|
|
สตรี.
|
จตุรฺถี
|
- วันที่ 4 ของปักษ์ข้างขึ้นข้างแรม
- วิภักติที่ 4 ในไวยากรณ์
-
|
|
สตรี.
|
จุกฺรา
|
|
|
สตรี.
|
จูฑา
|
- ปอยผมจุก
- ผมจุก (ที่เหลือไว้หลังจากพิธีโกนผม)
- ผมที่อยู่บนจุดสูงสุดของศรีษะ
- พิธีการโกนผม
- ศรีษะ
|
|
สตรี.
|
จูฑา
|
- ปอยผมจุก
- ผมจุก (ที่เหลือไว้หลังจากพิธีโกนผม)
- ผมที่อยู่บนจุดสูงสุดของศรีษะ
- พิธีการโกนผม
- ศรีษะ
|
|
สตรี.
|
จูรฺณี
|
- การบด
- แป้ง
- ผง
- หอยเบี้ย
- กลุ่มของหอยเบี้ยร้อยตัว
|
|
สตรี.
|
จูรฺณี
|
- การบด
- แป้ง
- ผง
- หอยเบี้ย
- กลุ่มของหอยเบี้ยร้อยตัว
|
|
สตรี.
|
จูรฺณิกา
|
- รูปแบบของการประพันธ์บทร้อยแก้ว
-
|
|
สตรี.
|
จุลฺลี
|
- เตาไฟ
- ปล่องไฟ
- เตาผิง
- กองฟืนสำหรับเผาศพ
-
|
|
สตรี.
|
จูลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ตฺรุฏิ
|
- ส่วนที่เล็ก
- ละออง
- อนุภาค
- ความสงสัย
- ความหายนะ
|
|
สตรี.
|
จุลฺลิ
|
- เตาไฟ
- ปล่องไฟ
- เตาผิง
- กองฟืนสำหรับเผาศพ
-
|
|
สตรี.
|
จูลา
|
|
|
สตรี.
|
ตฺรุฏี
|
- ส่วนที่เล็ก
- ละออง
- อนุภาค
- ความสงสัย
- ความหายนะ
|
|
สตรี.
|
จุรา
|
- การลักทรัพย์
- การขโมย
- การโจรกรรม
-
|
|
สตรี.
|
จรฺยา
|
- การเคลื่อนที่
- การท่องเที่ยวไป
- พฤติกรรม
- การกระทำ
- การปฏิบัติ
|
|
สตรี.
|
ตฺรยี
|
- พระเวททั้งสามโดยรวม
- กลุ่มที่มีจำนวน 3, สติปัญญา
-
|
|
สตรี.
|
จฺยุติ
|
- การหยด
- การเบี่ยงเบนจาก
- การหันเหจาก
- การตกหรือหล่น
- การไล่ออก
|
|
สตรี.
|
ทกฺษกนฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ทณฺฑนีติ
|
- ระบบการปกครอง
- องค์กรฝ่ายตุลาการ
- การบริหารงาน
- ตุลาการ
- จริยธรรม
|
|
สตรี.
|
ทํษฺฏฺริกา
|
|
|
สตรี.
|
ทํษฺฏฺรา
|
|
|
สตรี.
|
ทํศี
|
- ตัวเหลือบขนาดเล็ก
- ตัวต่อขนาดเล็ก
-
|
|
สตรี.
|
โทษา
|
|
|
สตรี.
|
โทษสฺ
|
|
|
สตรี.
|
ทารุครฺภา
|
- หุ่นที่ทำด้วยไม้หรือตุ๊กตา
-
|
|
สตรี.
|
โทคฺธฺรี
|
|
|
สตรี.
|
โทหนี
|
|
|
สตรี.
|
เทาหิตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
โทลิกา
|
- ชิงช้า
- เปล
- ความสงสัย
- ความไม่แน่นอน
- ความลังเล
|
|
สตรี.
|
ทารุกา
|
- หุ่นที่ทำด้วยไม้หรือหุ่นกระบอก
-
|
|
สตรี.
|
โทลา
|
- ชิงช้า
- เปล
- ความสงสัย
- ความไม่แน่นอน
- ความลังเล
|
|
สตรี.
|
ทาฒา
|
- ฟันขนาดใหญ่หรืองาช้าง
- จำนวน
- จำนวนมากมาย
- กลุ่ม
- ฝูง
|
|
สตรี.
|
ทาฒิกา
|
|
|
สตรี.
|
ทามินี
|
|
|
สตรี.
|
ทานฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ทาริกา
|
|
|
สตรี.
|
ทาติ
|
- การให้
- การตัด
- การทำลาย
- การแจกจ่าย
-
|
|
สตรี.
|
ทามนี
|
|
|
สตรี.
|
ทารี
|
|
|
สตรี.
|
ทาสี
|
- ทาสหญิงหรือคนรับใช้ผู้หญิง
- หญิงแพศยา
-
|
|
สตรี.
|
ฉายา
|
- ร่ม
- เงา
- รูป
- ความงาม
- ภาพสะท้อน
|
|
สตรี.
|
ทายาทา
|
|
|
สตรี.
|
ทายาที
|
|
|
สตรี.
|
ฉตฺรา
|
|
|
สตรี.
|
เทหลิ
|
|
|
สตรี.
|
เทหลี
|
|
|
สตรี.
|
เทหชา
|
|
|
สตรี.
|
เทหยาตฺรา
|
|
|
สตรี.
|
เทหินี
|
|
|
สตรี.
|
เทศินี
|
|
|
สตรี.
|
เฉโกกฺติ
|
- การพูดเป็นนัย
- การพูดเป็นเชิง
- การแย้ม
- การบอกใบ้
- การพูดเปรย
|
|
สตรี.
|
เฉกาปนฺหุติ
|
- ชื่อของการใช้อุปมาอุปมัย
- ชื่อของภาพพจน์
-
|
|
สตรี.
|
เทวภูมิ
|
|
|
สตรี.
|
เทวภูติ
|
- ฉายาของแม่น้ำคงคาแห่งสวรรค์
-
|
|
สตรี.
|
เทวางฺคนา
|
- เทพสตรี
- เทพธิดา
- นางฟ้า
- นางอัปสร
-
|
|
สตรี.
|
เทวจรฺยา
|
- การบูชาหรือการรับใช้เทพเจ้า
-
|
|
สตรี.
|
เทวทาสี
|
- หญิงรับใช้หรือหญิงที่เป็นนักเต้นรำที่อาศัยอยู่ในศาสนสถาน
- หญิงรับใช้หรือหญิงที่เป็นนักเต้นรำที่ถูกถวายตัวให้เทพ
- หญิงรับใช้ของเทพ
-
|
|
สตรี.
|
เทวคณิกา
|
|
|
สตรี.
|
ไทวคติ
|
- โชคชะตา
- ชะตากรรม
- วิถีทางของพรหมลิขิต
-
|
|
สตรี.
|
เทวคุหี
|
|
|
สตรี.
|
เทวี
|
- เทพเจ้าสตรี
- เทวี
- พระแม่ทุรคา
- พระแม่สาวิตรี
- พระแม่สรัสวตี
|
|
สตรี.
|
เทวกี
|
|
|
สตรี.
|
เทวกนฺยา
|
|
|
สตรี.
|
เทวโทฺรณี
|
|
|
สตรี.
|
เทวปุร
|
- ฉายาของอมราวตีนคร เมืองของพระอินทร์
-
|
|
สตรี.
|
เทวปุรี
|
- ฉายาของอมราวตีนคร เมืองของพระอินทร์
-
|
|
สตรี.
|
เทวตา
|
|
|
นปุง.
สตรี.
|
ไทวตี
|
|
|
สตรี.
|
เทวโยษา
|
- หญิงผู้เป็นภรรยาของเทพ
- นางอัปสร
- นางฟ้า
- เทพธิดา
-
|
|
สตรี.
|
เทศี
|
|
|
สตรี.
|
เทศนา
|
|
|
สตรี.
|
ทหโนลฺกา
|
- วัตถุที่กำลังติดไฟ
- ฟืนที่กำลังติดไฟ
-
|
|
สตรี.
|
ทีรฺฆนิทฺรา
|
- การนอนหลับยาว
- ความตาย
- การตาย
-
|
|
สตรี.
|
ทกฺษิณา
|
- ของขวัญหรือของกำนัลที่มอบให้แก่พราหมณ์
-
|
|
สตรี.
|
ทกฺษิเณตรา
|
|
|
สตรี.
|
ทีกฺษา
|
- การอุทิศตนหรือการเตรียมตนเองให้พร้อมสำหรับพิธีกรรมทางศาสนา
- การมอบสายยัชโญปวีตให้
- พิธีกรรม
-
|
|
สตรี.
|
ทณฺฑิกา
|
- ไม้เท้า
- ไม้พลอง
- แถว
- แนว
- ไม้เรียว
|
|
สตรี.
|
ทตฺติ
|
- เครื่องบูชา
- ของขวัญ
- ของกำนัล
- ของที่บริจาค
-
|
|
สตรี.
|
ฉรฺทิ
|
- การอาเจียน
- การป่วยไข้
- โรค
- ความไม่สบาย
-
|
|
สตรี.
|
ฉรฺทิสฺ
|
- การอาเจียน
- การป่วยไข้
- โรค
- ความไม่สบาย
-
|
|
สตรี.
|
ทีรฺฆิกา
|
- ทะเลสาบที่ยาว
- สระน้ำหรือบ่อน้ำที่มีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
-
|
|
สตรี.
|
ทีปิกา
|
- แสงสว่าง
- ดวงไฟ
- โคม
- ประทีป
- คบเพลิง
|
|
สตรี.
|
ทีธิติ
|
|
|
สตรี.
|
ทีปฺติ
|
- ความสว่าง
- ความงดงาม
- ความสง่างาม
- ความรุ่งโรจน์
-
|
|
สตรี.
|
ทีปศิขา
|
|
|
สตรี.
|
ทีปกาลิกา
|
- เปลวไฟของประทีปหรือตะเกียง
-
|
|
สตรี.
|
ทีปมาลา
|
- แถวของประทีป
- การทำให้สว่าง
- การตามไฟ
-
|
|
สตรี.
|
ทีปศฤงฺขลา
|
- แถวของดวงไฟ
- การทำให้สว่าง
- การตามไฟ
-
|
|
สตรี.
|
ทริ
|
|
|
สตรี.
|
ฉวิ
|
- ผิวหนัง
- ความงาม
- แสง
- สีผิว
- สี (โดยทั่วไป)
|
|
สตรี.
|
ทรฺวิกา
|
|
|
สตรี.
|
ทนุ
|
- มารดาของเหล่าอสูรหรือทานพ
-
|
|
สตรี.
|
ทนฺตวีณา
|
- เครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง
- ฟันกระทบกัน (ที่อาจจะเกิดจากความหนาวเย็นหรือความกลัว)
-
|
|
สตรี.
|
ฉฏา
|
- ก้อน
- กลุ่ม
- จำนวน
- การชุมนุม
- แสงสว่าง
|
|
สตรี.
|
ฉฏาภา
|
|
|
สตรี.
|
ทรี
|
|
|
สตรี.
|
ทุรฺภคา
|
- ผู้หญิงปากร้ายหรืออารมณ์ร้าย
- ผู้หญิงที่มีอารมณ์ไม่ดี
-
|
|
สตรี.
|
ทุฆา
|
|
|
สตรี.
|
ทุรุกฺติ
|
- คำพูดที่น่ารังเกียจ
- คำพูดที่หยาบคาย
-
|
|
สตรี.
|
ทุรฺคา
|
|
|
สตรี.
|
ทุรฺคติ
|
- ความโชคร้าย
- นรก
- ความทุกข์ทรมาน
- ความยากจน
-
|
|
สตรี.
|
ทูษิกา
|
- ดินสอ
- แปรงทาสี
- ข้าวชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ทุหิตฤ
|
|
|
สตรี.
|
ทุลิ
|
- เต่าตัวเล็กหรือเต่าตัวเมีย
-
|
|
สตรี.
|
ทุษฺฏิ
|
- ความเสื่อมทราม
- ความชั่วช้า
-
|
|
สตรี.
|
ฉูริกา
|
|
|
สตรี.
|
ทูติกา
|
- ผู้ส่งสารหญิง
- คนที่ไว้ใจ
- คนกลาง
- นายหน้า
- ผู้ไกล่เกลี่ย
|
|
สตรี.
|
ทุรฺมลฺลิกา
|
- ละครตลก
- ละครรองประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ทุรฺมลฺลี
|
- ละครตลก
- ละครรองประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ทุรฺนีติ
|
- การบริหารที่ไม่ดีหรือไม่ซื่อสัตย์
- การกระทำที่ไม่เหมาะสม
-
|
|
สตรี.
|
ทุราศา
|
- การสิ้นหวัง
- ความหมดหวัง
- ความหวังที่เปล่าประโยชน์
-
|
|
สตรี.
|
ทูรทฤษฺฏิ
|
- การมองการณ์ไกล
- การหยั่งรู้
-
|
|
สตรี.
|
ฉุรี
|
|
|
สตรี.
|
ฉูรี
|
|
|
สตรี.
|
ทูตี
|
- ผู้ส่งสารหญิง
- คนที่ไว้ใจ
- คนกลาง
- นายหน้า
- ผู้ไกล่เกลี่ย
|
|
สตรี.
|
ทูรฺวา
|
- หญ้าชนิดหนึ่งที่ได้รับการพิจารณาว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์เกี่ยวกับการบูชาและถวายให้แก่เทพ
-
|
|
สตรี.
|
ทุรฺวาสนา
|
- แนวโน้มที่ไม่ดี
- ความโน้มเอียงที่ไม่ดี
-
|
|
สตรี.
|
ทุรฺธี
|
|
|
สตรี.
|
ทรฺวี
|
- ทัพพี
- ช้อน
- พังพานงู
- แม่เบี้ย
-
|
|
สตรี.
|
ทยา
|
- ความสงสาร
- ความเห็นอกเห็นใจ
-
|
|
สตรี.
|
ทศา
|
- ขอบหรือชายของเสื้อผ้า
- ไส้ของตะเกียง
- อายุ
- ระยะเวลา
- ช่วง
|
|
สตรี.
|
ทศหรา
|
- ชื่อแม่น้ำคงคา
- เทศกาลที่จัดเพื่อแสดงความเคารพที่มีต่อพระแม่คงคาเป็นเวลา 10 วัน ในเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน หรือที่มีต่อพระแม่ทุรคาเป็นเวลา 10 วัน ในเดือนกันยายน-ตุลาคม
-
|
|
สตรี.
|
ทศติ
|
|
|
สตรี.
|
ทศมี
|
- วันที่ 10 ของปักษ์ทางจันทรคติ
- ทศวรรษที่ 10 ของชีวิตมนุษย์
-
|
|
สตรี.
|
ทศตฺ
|
|
|
สตรี.
|
ศฺลาฆา
|
- การยกย่อง
- คำสรรเสริญ
- การโอ้อวด
-
|
|
สตรี.
|
รุษฺ
|
|
|
สตรี.
|
รุษา
|
|
|
สตรี.
|
รุจิ
|
- ความงดงาม
- แสงสว่าง
- ความรุ่งโรจน์
- รัศมี
- ความปรารถนา
|
|
สตรี.
|
รูฒิ
|
- การเพิ่มขึ้น
- การเจริญเติบโต
- ชื่อเสียง
- ประเพณี
- ขนบธรรมเนียม
|
|
สตรี.
|
รุชฺ
|
- การแตก
- รอยแตกร้าว
- ความเจ็บปวด
- โรค
- ความเจ็บไข้
|
|
สตรี.
|
รุชา
|
- การแตก
- รอยแตกร้าว
- ความเจ็บปวด
- โรค
- ความเจ็บไข้
|
|
สตรี.
|
รุทฺราณี
|
- พระแม่ปารวตีผู้เป็นชายาของพระศิวะ
-
|
|
สตรี.
|
ฑากินี
|
- ปีศาจหญิงชนิดหนึ่ง
- ผีเพศหญิง
-
|
|
สตรี.
|
ฒามรา
|
|
|
สตรี.
|
ฒกฺกา
|
|
|
สตรี.
|
ฑุลิ
|
|
|
สตรี.
|
คภีริกา
|
- กลองขนาดใหญ่ที่มีเสียงทุ้ม
- ฆ้อง
-
|
|
ปุล.
สตรี.
|
คภสฺติ
|
- ลำแสง
- รัศมีของแสงสว่าง
- รัศมีของพระอาทิตย์
- รัศมีของพระจันทร์
-
|
|
สตรี.
|
คภสฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ครฺภจฺยุติ
|
|
|
สตรี.
|
ครฺภธารณา
|
|
|
สตรี.
|
ครฺภโยษา
|
|
|
สตรี.
|
ครฺภศยฺยา
|
|
|
สตรี.
|
คณเทวตา
|
- กลุ่มของเทวดาผู้มีลักษณะเฉพาะ
-
|
|
สตรี.
|
คเณรุกา
|
|
|
สตรี.
|
คณกี
|
|
|
สตรี.
|
คณนา
|
- การคำนวณ
- การนับจำนวน
- การคิด
- การพิจารณา
-
|
|
สตรี.
|
คณนายิกา
|
|
|
สตรี.
|
คณฺฑภิตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
คณฺฑศิลา
|
|
|
สตรี.
|
คณฺฑกี
|
|
|
สตรี.
|
คณฺฑสฺถลี
|
|
|
ปุล.
สตรี.
|
คณฺฑุ
|
|
|
สตรี.
|
คฤหภูมิ
|
|
|
สตรี.
|
คฤหชาลิกา
|
- การปลอมแปลง
- การปลอมตัว
- การหลอกลวง
-
|
|
สตรี.
|
คฤหตฏี
|
- ระเบียงที่อยู่หน้าบ้าน
- ธรณีประตู
- ทางเข้า
-
|
|
สตรี.
|
คฤหิณี
|
- ภรรยาผู้ครองเรือน
- นายหญิงของบ้าน
-
|
|
สตรี.
|
คฤษฺฏิ
|
- แม่วัวที่มีลูกเพียงตัวเดียวเท่านั้น
- แม่วัวที่มีอายุน้อย
-
|
|
สตรี.
|
คฤธฺย
|
|
|
สตรี.
|
คฤหฺยา
|
- หมู่บ้านใกล้เมือง
- ชานเมือง
-
|
|
สตรี.
|
คงฺคา
|
|
|
สตรี.
|
คงฺคากา
|
|
|
สตรี.
|
คงฺคาลหรี
|
- ชื่อของบทกวียอดนิยมของชคันนาถบัณฑิต
-
|
|
สตรี.
|
คา
|
|
|
สตรี.
|
คญฺชา
|
|
|
ปุล.
สตรี.
|
โค
|
- ปศุสัตว์
- ผลผลิตจากวัว
- ดาว
- สายฟ้า
- ท้องฟ้า
|
|
สตรี.
|
โค
|
- คันธนู
- โลก
- แม่
- การพูด
- ถ้อยคำ
|
|
สตรี.
|
โคณี
|
|
|
สตรี.
|
โคทาวรี
|
|
|
สตรี.
|
เคาฑา
|
- เหล้าที่กลั่นจากกากน้ำตาล
- รูปแบบหนึ่งของการแต่งบทกวี
-
|
|
สตรี.
|
โคษฺฐิ
|
- การชุมนุม
- การประชุม
- การพบกัน
- การสมาคม
- การรวมกลุ่ม
|
|
สตรี.
|
เคาริกา
|
|
|
สตรี.
|
โคธิกา
|
|
|
สตรี.
|
โคลา
|
- ลูกบอลที่ทำด้วยไม้
- สารหนูสีแดง
- น้ำหมึก
-
|
|
สตรี.
|
โคโลมี
|
|
|
สตรี.
|
โคมุขี
|
|
|
สตรี.
|
โคโรจนา
|
- สารสีเหลืองสดใสที่ได้จากปัสสาวะหรือน้ำดีของวัว
-
|
|
สตรี.
|
เคารี
|
- ชื่อของพระแม่ปารวตี
- เด็กหญิงอายุ 8 ขวบ
- หญิงที่มีผิวขาวหรือค่อนข้างเหลือง
- โลก
- ขมิ้น
|
|
สตรี.
|
โคสฺตนา
|
|
|
สตรี.
|
โคสฺตนี
|
|
|
สตรี.
|
โคตมี
|
- อหัลยาผู้เป็นภรรยาของฤๅษีโคตมะ
-
|
|
สตรี.
|
โคธา
|
- หนังที่รัดรอบแขนซ้ายเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากสายธนู
- จระเข้
- เส้นเอ็น
-
|
|
สตรี.
|
คาลิ
|
- คำสาปแช่ง
- การดูถูก
- การด่าว่า
- ภาษาหยาบคาย
- คำหยาบ
|
|
สตรี.
|
คาถิกา
|
|
|
สตรี.
|
คานฺธารี
|
|
|
สตรี.
|
คาถา
|
- คำประพันธ์ประเภทร้อยกรองที่เกี่ยวข้องกับศาสนา
- ฉันท์
- ร้อยกรอง
- บทหนึ่งของบทกวี
-
|
|
สตรี.
|
คายตฺรี
|
- ชื่อของฉันทลักษณ์ในคัมภีร์พระเวท
- ชื่อของบทสวดที่พราหมณ์ท่องบูชาเทพเจ้าเป็นประจำในช่วงเช้าและช่วงเย็น
-
|
|
สตรี.
|
คทา
|
|
|
สตรี.
|
เคหินี
|
|
|
สตรี.
|
ครฺครี
|
|
|
สตรี.
|
ครฺหา
|
- การเหยียดหยาม
- การดูถูก
- การตำหนิ
- การด่าว่า
-
|
|
สตรี.
|
คภิณี
|
|
|
สตรี.
|
คณิกา
|
|
|
สตรี.
|
คณฺฑิกา
|
|
|
สตรี.
|
คีรฺณิ
|
|
|
สตรี.
|
คีติ
|
|
|
สตรี.
|
คีติกา
|
|
|
สตรี.
|
คติ
|
- การเดิน
- การเคลื่อนไหว
- ขอบเขต
- ทางเข้า
- สภาพ
|
|
สตรี.
|
คีตา
|
- ข้อเขียนที่มีลักษณะเป็นบทร้อยกรองและอยู่ในรูปแบบการสนทนาที่มีคำอธิบายอย่างละเอียดของคำสอนทางศาสนา
- คำศัพท์เฉพาะที่ใช้กับคัมภีร์ “ภควัทคีตา”
-
|
|
สตรี.
|
ควินี
|
|
|
สตรี.
|
คชคามินี
|
- หญิงที่มีท่าทางการเดินที่สง่าผ่าเผยเหมือนท่าทางการเดินของช้าง
-
|
|
สตรี.
|
คชคติ
|
- ท่าทางการเดินที่สง่าผ่าเผยเหมือนท่าทางการเดินของช้าง
-
|
|
สตรี.
|
คชนาสา
|
|
|
สตรี.
|
คฺลานิ
|
- ความเหนื่อยอ่อน
- ความอ่อนแอ
- ภาวะตกต่ำ
- ความเสื่อม
-
|
|
สตรี.
|
คเลสฺตนี
|
|
|
สตรี.
|
คลเมขลา
|
|
|
สตรี.
|
คลนฺตี
|
- เหยือกน้ำขนาดเล็ก
- โอ่งน้ำขนาดเล็ก
-
|
|
สตรี.
|
คลสฺตนี
|
|
|
สตรี.
|
คฺมา
|
|
|
สตรี.
|
คนฺธชฺญา
|
|
|
สตรี.
|
คนฺธาลี
|
|
|
สตรี.
|
คนฺธการิกา
|
- คนรับใช้หญิงที่มีหน้าที่จัดเตรียมน้ำหอม
- หญิงผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปะที่อาศัยในบ้านของหญิงอื่น
-
|
|
สตรี.
|
คนฺธเกลิกา
|
- ชะมด
- กลิ่นรุนแรงจากสัตว์
- ขี้ชะมด
-
|
|
สตรี.
|
คนฺธมาตฤ
|
|
|
สตรี.
|
คนฺธนาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
คนฺธรฺววิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
คนฺธวตี
|
- แผ่นดิน
- เหล้าองุ่น
- ชื่อของพระนางสัตยาวตีซึ่งเป็นมารดาของฤาษีวยาสะ
- ดอกมะลิประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ครา
|
|
|
สตรี.
|
คตภรฺตฤกา
|
|
|
สตรี.
|
ครฺตา
|
|
|
สตรี.
|
คตารฺตวา
|
|
|
สตรี.
|
คู
|
|
|
สตรี.
|
คุณนิกา
|
- การเรียน
- การอ่าน
- การเต้นรำ
- อารัมภบทของละคร
- พวงมาลัย
|
|
สตรี.
|
คุณนี
|
|
|
สตรี.
|
คุญฺชา
|
- ต้นไม้ขนาดเล็กชนิดหนึ่งที่มีผลสีแดงเข้มขนาดเล็กซึ่งใช้เป็นหน่วยวัดน้ำหนัก
- น้ำหนักน้อย
- การสะท้อนกลับ
-
|
|
สตรี.
|
คุรุทกฺษิณา
|
- ค่าเล่าเรียนที่ลูกศิษย์ต้องมอบให้แก่คนที่เป็นครู
-
|
|
สตรี.
|
คุรุตา
|
- น้ำหนัก
- ศักดิ์ศรี
- ความมีเกียรติ
-
|
|
สตรี.
|
คุฑศรฺกรา
|
|
|
สตรี.
|
คุหา
|
- ถ้ำ
- หลุม
- หัวใจ
- การซ่อน
- การปิดบัง
|
|
สตรี.
|
คุณิกา
|
|
|
สตรี.
|
คุฏิกา
|
- ยาเม็ด
- ก้อนกรวดที่กลม
- รังไหม
- ไข่มุก
-
|
|
สตรี.
|
คุรฺวิณี
|
|
|
สตรี.
|
คุปฺติ
|
- การปกป้อง
- การซ่อน
- การปกปิด
- โพรงในดิน
- ถ้ำ
|
|
สตรี.
|
คุมฺผนา
|
- การจัดวางองค์ประกอบที่ดี
- การประพันธ์ที่ดี
-
|
|
สตรี.
|
คุรฺวี
|
|
|
สตรี.
|
ควาทนี
|
- ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
- ทุ่งหญ้า
-
|
|
สตรี.
|
คเวษณา
|
|
|
สตรี.
|
ควฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ควฺยูติ
|
- หน่วยวัดระยะทาง (1 ควฺยูติ ประมาณ 2 ไมล์)
-
|
|
สตรี.
|
คหฺวรี
|
|
|
สตรี.
|
หฏฺฏวิลาสินี
|
|
|
สตรี.
|
ฌณฌณา
|
|
|
สตรี.
|
หณฺฑี
|
- ภาชนะบรรจุหรือหม้อน้ำที่ทำด้วยดินเผา
-
|
|
สตรี.
|
โหตฺรี
|
- ผู้สังเวยเครื่องสังเวยหรือเครื่องบูชา
- 1 ใน 8 รูปของพระศิวะ
-
|
|
สตรี.
|
โหรา
|
- ชั่วโมง
- ครึ่งหนึ่งของราศี
- เครื่องหมาย
- เส้น
- ดวงชะตา
|
|
สตรี.
|
หานิ
|
- ความสูญเสีย
- ความล้มเหลว
- ความพ่ายแพ้
- การลดลง
- การทอดทิ้ง
|
|
สตรี.
|
หาสิกา
|
- การหัวเราะ
- เสียงหัวเราะ
- ความรื่นเริง
-
|
|
สตรี.
|
หาลา
|
|
|
สตรี.
|
หาลหลี
|
|
|
สตรี.
|
หาลี
|
|
|
สตรี.
|
หาสฺยปทวี
|
|
|
สตรี.
|
เหษา
|
- เสียงม้าร้อง
- การร้องเสียงฮี้ของม้า
-
|
|
สตรี.
|
โหลิกา
|
- วันพระ จันทร์เต็มดวงในเดือนผาลคุณ
- เทศกาลฤดูใบไม้ผลิที่เฉลิมฉลองการเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิในช่วงระหว่าง 10 วันก่อนวันพระ จันทร์เต็มดวงในเดือนผาลคุณ
- เทศกาลโฮลี
-
|
|
สตรี.
|
โหลากา
|
- วันพระ จันทร์เต็มดวงในเดือนผาลคุณ
- เทศกาลฤดูใบไม้ผลิที่เฉลิมฉลองการเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิในช่วงระหว่าง 10 วันก่อนวันพระ จันทร์เต็มดวงในเดือนผาลคุณ
- เทศกาลโฮลี
-
|
|
สตรี.
|
โหลี
|
- วันพระ จันทร์เต็มดวงในเดือนผาลคุณ
- เทศกาลฤดูใบไม้ผลิที่เฉลิมฉลองการเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิในช่วงระหว่าง 10 วันก่อนวันพระ จันทร์เต็มดวงในเดือนผาลคุณ
- เทศกาลโฮลี
-
|
|
สตรี.
|
เหลิ
|
- การเกี้ยวพาราสี
- การโอบกอด
- ขบวนแห่แต่งงานบนถนน
-
|
|
สตรี.
|
เหลา
|
- การดูถูก
- การขาดความเคารพ
- แสงจันทร์
- ความสะดวก
- การเล่นสนุก
|
|
สตรี.
|
เหลนา
|
- การดูถูก
- การเยาะเย้ย
- การไม่เอาใจใส่
- การมองข้าม
-
|
|
สตรี.
|
เหกฺกา
|
|
|
สตรี.
|
ฌรฺฌรา
|
|
|
สตรี.
|
หณฺฑิกา
|
- ภาชนะบรรจุหรือหม้อน้ำที่ทำด้วยดินเผา
-
|
|
สตรี.
|
หริณี
|
- กวางตัวเมีย
- ชื่อของฉันท์ชนิดหนึ่ง
- ชื่อลักษณะสตรี 1 ใน 4 ประเภท
-
|
|
สตรี.
|
หริทฺรา
|
|
|
สตรี.
|
ฌลฺลิกา
|
- สิ่งสกปรกที่ถูกถูออกจากร่างกายด้วยการใช้เครื่องหอม
- แสงสว่าง
- แสงแดด
-
|
|
สตรี.
|
หสฺตินี
|
- ช้างตัวเมีย
- ชื่อลักษณะสตรีประเภทหนึ่งใน 4 ประเภท
-
|
|
สตรี.
|
หติ
|
- การทำลาย
- การฆ่า
- การชก
- ข้อบกพร่อง
-
|
|
สตรี.
|
หลภูติ
|
|
|
สตรี.
|
ฌลา
|
|
|
สตรี.
|
หลา
|
|
|
สตรี.
|
ฌลชฺฌลา
|
- เสียงของหยดที่ตกลงมา
- เสียงสะบัดหูของช้าง
-
|
|
สตรี.
|
หมฺภา
|
|
|
สตรี.
|
หมฺพา
|
|
|
สตรี.
|
หนุ
|
- อาวุธ
- ความตาย
- ความเจ็บไข้
- หญิงแพศยา
-
|
|
สตรี.
|
หตฺยา
|
- การฆ่า
- การสังหาร
- การฆาตกรรม
-
|
|
สตรี.
|
หุํกฤติ
|
- เสียง “ฮุม” การร้อง (ของวัว)
- การส่งเสียงแหลม (ของธนู)
- การคำรามเสียงออกจมูก
-
|
|
สตรี.
|
หุติ
|
- การถวายเครื่องบูชา
- การสังเวยเครื่องสังเวย
- ยัญพิธี
- การบูชายัญ
-
|
|
สตรี.
|
หูติ
|
- การร้องเรียก
- การเชื้อเชิญ
- การท้าทาย
- ชื่อ
-
|
|
สตรี.
|
หยศาลา
|
|
|
สตรี.
|
ภิกฺษา
|
|
|
สตรี.
|
ภิกฺษาวฤติ
|
- การดำรงชีวิตด้วยของบริจาค
-
|
|
สตรี.
|
ภิตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ภิตฺติกา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษิติ
|
|
|
สตรี.
|
กฺษิติชา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษิปณี
|
|
|
สตรี.
|
กฺษิปา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษิปณิ
|
|
|
สตรี.
|
กฺษิยา
|
- ความเสียหาย
- การทำลาย
- ความสูญเสีย
-
|
|
สตรี.
|
กฺริยา
|
- การกระทำ
- การปฏิบัติ
- การดำเนินการ
- การงาน
- ภาระหน้าที่
|
|
สตรี.
|
กฺริยาสํกฺรานฺติ
|
|
|
สตรี.
|
โศฺรณิ
|
|
|
สตรี.
|
ศฺรานฺติ
|
- ความเหนื่อยล้า
- ความเหน็ดเหนื่อย
-
|
|
สตรี.
|
ศฺราวณี
|
- วันพระจันทร์เต็มดวงของเดือนศราวณะ
- ชื่อของพิธีกรรมเปลี่ยนสายยัชโญปวีตใหม่ประจำปีที่จัดขึ้นในวันนี้
-
|
|
สตรี.
|
ปฺริยา
|
- ภรรยา
- ผู้เป็นที่รัก
- สัตว์เพศเมีย
- ข่าว
-
|
|
สตรี.
|
พิสนาภิ
|
|
|
สตรี.
|
ตฺรึศติ
|
|
|
สตรี.
|
จิญฺจา
|
|
|
สตรี.
|
จิตฺตนิรฺวฤติ
|
- ความสุข
- ความพอใจ
- ความสบายใจ
-
|
|
สตรี.
|
จิตฺตวฤตฺติ
|
- ความรู้สึก
- สภาวะจิตใจ
- อารมณ์
-
|
|
สตรี.
|
จิตฺรา
|
|
|
สตรี.
|
จิตฺรากฤติ
|
|
|
สตรี.
|
จิตฺรวิทฺยา
|
- ศิลปะการเขียนภาพหรือการระบายสี
-
|
|
สตรี.
|
จิตฺรศาลา
|
|
|
สตรี.
|
ตฺริครฺตา
|
- หญิงที่มีความใคร่
- หญิงที่เต็มไปด้วยกามตัณหา
-
|
|
สตรี.
|
ตฺริคุณา
|
- มายาหรือการหลอกลวงหรือสิ่งลวงตา
-
|
|
สตรี.
|
จิตฺริณี
|
- นามสำหรับสตรีที่ประกอบด้วยพรสวรรค์และความเป็นเลิศ
-
|
|
สตรี.
|
จิกิตฺมา
|
- การบริหารจัดการวิธีการรักษาหรือยารักษาโรค
- การรักษาทางการแพทย์
- การบำบัดโรค
- การรักษาโรค
-
|
|
สตรี.
|
จินฺติติ
|
- การคิด
- การนึก
- การใคร่ครวญ
- การพิจารณา
- ความคิด
|
|
สตรี.
|
จินฺติติยา
|
- การคิด
- การนึก
- การใคร่ครวญ
- การพิจารณา
- ความคิด
|
|
สตรี.
|
จิติ
|
- คณะ
- หมู่
- เชิงตะกอน
- การจับกลุ่ม
- กอง
|
|
สตรี.
|
จิติกา
|
|
|
สตรี.
|
ตฺริชีวา
|
|
|
สตรี.
|
ตฺริชฺยา
|
|
|
สตรี.
|
จิกีรฺษา
|
- ความอยาก
- ความปรารถนา
- ความปรารถนาที่จะทำ
-
|
|
สตรี.
|
ตฺริโลกี
|
|
|
สตรี.
|
ตฺริมารฺคา
|
|
|
สตรี.
|
จินฺตา
|
- การคิด
- ความคิด
- ความใคร่ครวญ
- ความระลึกได้
- ความวิตกกังวล
|
|
สตรี.
|
ตริโสฺรตสฺ
|
|
|
สตรี.
|
ตฺริปที
|
- โซ่ตรวนสำหรับล่ามช้าง
- การก้าวเดินของช้างลักษณะหนึ่ง
- ขาตั้ง 3 ขา
- ฉันท์คายตรี
-
|
|
สตรี.
|
ตฺริปถคา
|
|
|
สตรี.
|
ตริสฺถลี
|
- สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 3
-
|
|
สตรี.
|
จิตฺ
|
- ความเข้าใจ
- ความคิด
- ความตระหนัก
- จิตใจ
- วิญญาณ
|
|
สตรี.
|
จิตา
|
|
|
สตรี.
|
จิตฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ตฺริเวณี
|
- สถานที่ที่แม่น้ำ 3 สาย คือแม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนา และแม่น้ำสรัสวตีมาบรรจบกัน
-
|
|
สตรี.
|
ตฺริเวณิ
|
- สถานที่ที่แม่น้ำ 3 สาย คือแม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนา และแม่น้ำสรัสวตีมาบรรจบกัน
-
|
|
สตรี.
|
ตฺริธารา
|
- แม่น้ำ
- คงคา
- พืชชนิดหนึ่ง (สลัดได)
-
|
|
สตรี.
|
ตฺริโยนิ
|
|
|
สตรี.
|
ตฺริยามา
|
|
|
สตรี.
|
ฉิ
|
- การปรามาส
- การดูถูก
- การตำหนิ
- การติเตียน
-
|
|
สตรี.
|
ฉิตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ฉิทิ
|
|
|
สตรี.
|
ทินิกา
|
|
|
สตรี.
|
ทิษฺฏิ
|
- ทิศทาง
- กฎ
- การวัดความยาวลักษณะหนึ่ง
- โชคชะตา
- ความสุข
|
|
สตรี.
|
ทิติ
|
- การตัด
- ความเอื้ออารี
- ชื่อมารดาของเหล่าแทตย์
-
|
|
สตรี.
|
ทิธิษุ
|
- หญิงหม้ายที่ยังบริสุทธิ์แต่งงานอีกครั้ง
-
|
|
สตรี.
|
ทินจรฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ทิกฺกริกา
|
|
|
สตรี.
|
ทิกฺกรี
|
|
|
สตรี.
|
ทิตฺสา
|
- ความปรารถนาที่จะให้
- ความต้องการที่จะมอบให้
-
|
|
สตรี.
|
ฉินฺนา
|
- หญิงโสเภณี
- หญิงแพศยา
- หญิงสำส่อน
-
|
|
สตรี.
|
ทิวฺ
|
|
|
สตรี.
|
ทิวสฺปฤถิวฺเยา
|
|
|
สตรี.
|
ทิวฺยสริตฺ
|
|
|
สตรี.
|
ทิศฺ
|
- การชี้บอก
- การบ่งบอก
- สิ่งชี้บอก
- มุมมอง
- คำสั่ง
|
|
สตรี.
|
ทิศา
|
|
|
สตรี.
|
เศฺรฒี
|
- การก้าวหน้า (คณิตศาสตร์)
- ลำดับในวิชาคณิตศาสตร์
-
|
|
ปุล.
สตรี.
|
เศฺรณิ
|
|
|
สตรี.
|
เศฺรณิกา
|
|
|
สตรี.
|
คิริชา
|
- ชื่อของพระแม่ปารวตี
- พืชชนิดหนึ่ง
- ก้อนกรวด
- แม่น้ำคงคา
-
|
|
สตรี.
|
คิรฺ
|
- การพูด
- คำพูด
- ภาษา
- ประณามบท
- เทพีแห่งการเรียนรู้
|
|
สตรี.
|
คิรา
|
|
|
สตรี.
|
หึสา
|
- การบาดเจ็บ
- สิ่งอันตราย
- การฆ่า
- การปล้น
-
|
|
สตรี.
|
ฌิลฺลิ
|
|
|
สตรี.
|
ฌิลฺลิกา
|
|
|
สตรี.
|
หิมานี
|
|
|
สตรี.
|
หินฺโทลา
|
|
|
สตรี.
|
หิกฺกา
|
|
|
สตรี.
|
ฌิลฺลี
|
|
|
สตรี.
|
ศฺรี
|
- ความร่ำรวย
- ทรัพย์สมบัติ
- ความสง่างาม
- ความงดงาม
- สติปัญญา
|
|
สตรี.
|
ศฺรทฺธา
|
- ความศรัทธา
- ความเคารพ
- ความปรารถนาอย่างแรงกล้า
-
|
|
สตรี.
|
วฺรีฑา
|
|
|
สตรี.
|
ชิฆฤกฺษา
|
- ความปรารถนาที่จะจับหรือยึด
-
|
|
สตรี.
|
ชิฆำสา
|
- ความประสงค์หรือเจตนาที่จะตีหรือจะฆ่าหรือจะทำลาย
-
|
|
สตรี.
|
ชิฆตฺสา
|
|
|
สตรี.
|
ชิชฺญาสา
|
- ความอยากรู้
- การค้นหา
- การสำรวจ
- การสอบสวน
- การทดสอบ
|
|
สตรี.
|
วฺรชางฺคนา
|
|
|
สตรี.
|
ชิคีษา
|
- ปรารถนาที่จะพิชิต
- การแข่งขัน
- ความโดดเด่น
- ความพยายาม
-
|
|
สตรี.
|
ชิติ
|
|
|
สตรี.
|
ชิหฺวา
|
|
|
สตรี.
|
กิงฺกรา
|
|
|
สตรี.
|
กิงฺกรี
|
|
|
สตรี.
|
กึวทนฺติ
|
|
|
สตรี.
|
กิงฺกิณี
|
- ระฆังขนาดเล็กหรือเครื่องประดับที่มีเสียงกรุ๊งกริ๊ง
-
|
|
สตรี.
|
กิงฺกิณีกา
|
- ระฆังขนาดเล็กหรือเครื่องประดับที่มีเสียงกรุ๊งกริ๊ง
-
|
|
สตรี.
|
กิงฺกิณิกา
|
- ระฆังขนาดเล็กหรือเครื่องประดับที่มีเสียงกรุ๊งกริ๊ง
-
|
|
สตรี.
|
กินฺนรี
|
|
|
สตรี.
|
กิโศรี
|
- หญิงสาว
- หญิงสาวที่ไม่มีประสบการณ์
-
|
|
สตรี.
|
ลิปิ
|
- การทา
- การเขียน
- สิ่งที่เขียน
- ตัวอักษร
-
|
|
สตรี.
|
ลิปี
|
- การทา
- การเขียน
- สิ่งที่เขียน
- ตัวอักษร
-
|
|
สตรี.
|
ลิปฺสา
|
|
|
สตรี.
|
มิหิกา
|
|
|
สตรี.
|
มิติ
|
- การชั่งตวงวัด
- น้ำหนัก
- หลักฐาน
-
|
|
สตรี.
|
นิเษวา
|
|
|
สตรี.
|
นิษทฺวรี
|
|
|
สตรี.
|
นิษฺกฤติ
|
- การรักษา
- การไถ่โทษ
- การชดเชย
- การถอด
- การกำจัด
|
|
สตรี.
|
นิษฺปตฺติ
|
- การเกิด
- ความสมบูรณ์
- ความสำเร็จ
-
|
|
สตรี.
|
นิรฺฤติ
|
- การเสื่อมสลาย
- การทำลาย
- คำสาป
-
|
|
สตรี.
|
นิะเศฺรณิ
|
|
|
สตรี.
|
นิะศฺรยณี
|
|
|
สตรี.
|
นิพนฺธนี
|
- ความผูกพัน, พันธะ, การล่ามโซ่, พันธนาการ
-
|
|
สตรี.
|
นิเทศินี
|
|
|
สตรี.
|
นิทรฺศนา
|
|
|
สตรี.
|
นิรุกฺติ
|
- การแปลความหมายของคำ
- นิรุกติศาสตร์
-
|
|
สตรี.
|
นิรูฒิ
|
|
|
สตรี.
|
นิรฺฌริณี
|
|
|
สตรี.
|
นิรฺฌรี
|
|
|
สตรี.
|
นิษิทฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
นิเศฺรณี
|
|
|
สตรี.
|
นิเศฺรณิ
|
|
|
สตรี.
|
นิศฺจิติ
|
|
|
สตรี.
|
นิศฺจลา
|
|
|
สตรี.
|
นิลิมฺปิกา
|
|
|
สตรี.
|
นิลิมฺปา
|
|
|
สตรี.
|
นิรฺมิติ
|
|
|
สตรี.
|
นิศฺรยณี
|
|
|
สตรี.
|
นิกษา
|
|
|
สตรี.
|
นิกฤติ
|
- ความเลว
- การหลอกลวง
- ความอัปยศอดสู
- การถอด
- การกำจัด
|
|
สตรี.
|
นิรฺมาณา
|
|
|
สตรี.
|
นิมีลิกา
|
- การหลับตา
- การเมินเฉย
- การหลอกลวง
- การเสแสร้ง
-
|
|
สตรี.
|
นิมีลา
|
- การหลับตา
- การเมินเฉย
- การหลอกลวง
- การเสแสร้ง
-
|
|
สตรี.
|
นิมฺลุกฺติ
|
|
|
สตรี.
|
นิมฺนคา
|
|
|
สตรี.
|
นินฺทา
|
- การกล่าวโทษ
- การตำหนิ
- การหมิ่นประมาท
- ความเสียหาย
-
|
|
สตรี.
|
นินฺทาสฺตุติ
|
- การสรรเสริญเชิงประชดประชัน
-
|
|
สตรี.
|
นิษฺฐา
|
- ตำแหน่ง
- พื้นฐาน
- ความมั่นคง
- ทักษะ
- ศรัทธา
|
|
สตรี.
|
นิทฺรา
|
|
|
สตรี.
|
นิปีฑนา
|
|
|
สตรี.
|
นิปตฺยา
|
|
|
สตรี.
|
นิรากฺริยา
|
- การปฏิเสธสิ่งกีดขวาง
- อุปสรรค
-
|
|
สตรี.
|
นิรากฤติ
|
- การปฏิเสธสิ่งกีดขวาง
- อุปสรรค
-
|
|
สตรี.
|
นิรีกฺษา
|
|
|
สตรี.
|
นิรติ
|
|
|
สตรี.
|
นิตมฺพินี
|
- ผู้หญิงที่มีสะโพกใหญ่และสวย
-
|
|
สตรี.
|
นิตฺยกฺริยา
|
|
|
สตรี.
|
นิหฺนุติ
|
- การปฏิเสธ
- การปิดบัง
- ความลับ
-
|
|
สตรี.
|
นิรฺหฤติ
|
|
|
สตรี.
|
นิวฤตฺติ
|
- การกลับ
- การย้อนกลับ
- ผลตอบแทน
- การสูญหาย
- การละจากทางโลก
|
|
สตรี.
|
นิวฤติ
|
|
|
สตรี.
|
นิรฺวฤติ
|
- ความพอใจ
- นอนหลับ
- การพักผ่อน
- สุคติ
- ความสำเร็จ
|
|
สตรี.
|
นิรฺวฤตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
นิวรา
|
- พรหมจารี
- หญิงที่ยังไม่แต่งงาน
-
|
|
สตรี.
|
นิวสติ
|
|
|
สตรี.
|
นิรฺวฺยูฒิ
|
|
|
สตรี.
|
นิรฺยาติ
|
|
|
สตรี.
|
นิยติ
|
- ความยับยั้งชั่งใจ
- โชคชะตา
- หน้าที่ทางศาสนา
- ความข่มใจตนเอง
-
|
|
สตรี.
|
นิยมนิษฺฐา
|
- การปฏิบัติอย่างเข้มงวดของพิธีกรรมที่กำหนด
-
|
|
สตรี.
|
นิยมสฺถิติ
|
- การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องของภาระหน้าที่ทางศาสนา
-
|
|
สตรี.
|
นิยนฺตฺรณา
|
- การตรวจสอบ
- ความยับยั้งชั่งใจ
- การจำกัด
- การควบคุม
-
|
|
สตรี.
|
นิยุกฺติ
|
- คำสั่ง
- การแต่งตั้ง
- สำนักงาน
-
|
|
สตรี.
|
นิศฺ
|
|
|
สตรี.
|
นิศา
|
|
|
สตรี.
|
นิศาจรี
|
- ผู้หญิงที่ไปพบคนรักตอนกลางคืนตามที่นัดหมาย
- หญิงแพศยา
-
|
|
สตรี.
|
นิศีถินี
|
|
|
สตรี.
|
นิศีถฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ทฺวิรุกฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ขิขิ
|
|
|
สตรี.
|
ทฺวิชปฺรปา
|
|
|
สตรี.
|
ทฺวิตียา
|
- วันที่ 2 ของปักษ์ทางจันทรคติ
- ภรรยา
- เพื่อน
- วิภักติที่ 2 ในทางไวยากรณ์
-
|
|
สตรี.
|
ทฺวิวาหิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปิณฺฑภฤติ
|
|
|
สตรี.
|
ปิณฺฑิ
|
|
|
สตรี.
|
ปิปาสา
|
|
|
สตรี.
|
ปิปีลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปิปฺปลิ
|
|
|
สตรี.
|
ปิตฤติถิ
|
|
|
สตรี.
|
ปิตฤหตฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ปิศาจภาษา
|
|
|
สตรี.
|
ปิศาจี
|
|
|
สตรี.
|
ปิศาจิกา
|
|
|
สตรี.
|
ฏิปฺปณี
|
- คำอธิบาย
- คำวิจารณ์
- ความเห็น
- ข้อสังเกต
-
|
|
สตรี.
|
ฏิปฺปณีนี
|
- คำอธิบาย
- คำวิจารณ์
- ความเห็น
- ข้อสังเกต
-
|
|
สตรี.
|
สึหี
|
|
|
สตรี.
|
สิทฺธิ
|
- การทำให้สำเร็จ
- การบรรลุผล
- การพิสูจน์
- ความสำเร็จ
- การตระเตรียม
|
|
สตรี.
|
สิกตา
|
|
|
สตรี.
|
สิตา
|
|
|
สตรี.
|
สฺถิติ
|
- สถานที่อยู่
- นิสัย
- ความมั่นคง
- สภาวการณ์
- สถานะ
|
|
สตรี.
|
สฺถิรา
|
- โลก
- ผู้หญิงที่มีจิตใจเข้แข็ง
-
|
|
สตรี.
|
วฺรตติ
|
|
|
สตรี.
|
ติติกฺษา
|
|
|
สตรี.
|
ติถิปตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
ติโลตฺตมา
|
- ชื่อของนางอัปสรหรือนางฟ้า
-
|
|
สตรี.
|
ติรศฺจี
|
- สัตว์เพศเมียที่ไม่ใช่มนุษย์
-
|
|
สตรี.
|
ติรสฺกฺริยา
|
- การปกปิด
- การซ่อนเร้น
- การละเมิด
- การดูถูก
- การตำหนิ
|
|
สตรี.
|
ติรสฺกริณี
|
- ม่าน
- ผ้าคลุมวิเศษที่ทำให้ผู้สวมใส่ล่องหน
-
|
|
สตรี.
|
วฺรตตี
|
|
|
สตรี.
|
ตฺวิษฺ
|
- ความสว่าง
- ความรุ่งโรจน์
- ความสุกใส
- ความงดงาม
- อำนาจ
|
|
สตรี.
|
ติรฺยคฺชาต
|
- ชนิดของสัตว์เดรัจฉาน
- แหล่งกำเนิดของสัตว์
- ครรภ์ของสัตว์
- สัตว์โลก
-
|
|
สตรี.
|
ติรฺยคฺโยนิ
|
- ชนิดของสัตว์เดรัจฉาน
- แหล่งกำเนิดของสัตว์
- ครรภ์ของสัตว์
- สัตว์โลก
-
|
|
สตรี.
|
ศฺรุติ
|
- การได้ยิน
- หู
- ข่าว
- พระเวท
- ขั้นคู่เสียงในดนตรี
|
|
สตรี.
|
วิภา
|
|
|
สตรี.
|
วิภาษา
|
|
|
สตรี.
|
วิภาสา
|
|
|
สตรี.
|
วิภาวนา
|
- การตรวจสอบ
- การพิจารณา
- การตัดสิน
-
|
|
สตรี.
|
วิภกฺติ
|
- การแบ่งแยก
- การผันคำนาม (ไวยากรณ์)
-
|
|
สตรี.
|
วิภีษิกา
|
|
|
สตรี.
|
วิภูษา
|
|
|
สตรี.
|
วิภูติ
|
- พลัง
- อำนาจ
- ความสุข
- ความมั่งคั่ง
- ความร่ำรวย
|
|
สตรี.
|
วิษาณี
|
- เขาสัตว์
- แตร (เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า)
-
|
|
สตรี.
|
วิษูจิกา
|
- อหิวาตกโรค
- กลอนประตูหรือสลักประตู
- เสา
- การแสดงสลับฉาก (ในละคร)
- ต้นไม้
|
|
สตรี.
|
วิฆฏนา
|
|
|
สตรี.
|
วิชฺญาปนา
|
- ข้อความหรือการติดต่อสื่อสารที่สุภาพเรียบร้อย
- การประกาศ
- ข่าวสาร
- การขอร้อง
- การสอน
|
|
สตรี.
|
วิชฺญปฺติ
|
- ข้อความหรือการติดต่อสื่อสารที่สุภาพเรียบร้อย
- การประกาศ
- ข่าวสาร
- การขอร้อง
- การสอน
|
|
สตรี.
|
วิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
วิทฺยุลฺเลขา
|
- สายฟ้าแลบ
- สายฟ้าผ่า
- ฟ้าแลบหรือฟ้าผ่าที่ปรากฏเป็นสาย
-
|
|
สตรี.
|
วิทฺยุลฺลตา
|
- สายฟ้าแลบ
- สายฟ้าผ่า
- ฟ้าแลบหรือฟ้าผ่าที่ปรากฏเป็นสาย
-
|
|
สตรี.
|
วิทฺยุตฺ
|
|
|
สตรี.
|
วึศติ
|
|
|
สตรี.
|
วิกฺรานฺติ
|
|
|
สตรี.
|
วิปฺรติปตฺติ
|
- ความขัดแย้ง
- การโต้เถียง
- ความงุนงง
- ความสับสน
-
|
|
สตรี.
|
วิปฺรกฤติ
|
- การล่วงละเมิด
- การดูถูก
- การดูหมิ่น
-
|
|
สตรี.
|
วิปฺรุษฺ
|
- หยด (ของน้ำหรือของเหลว)
- จุด
- แต้ม
-
|
|
สตรี.
|
วิภฺรานฺติ
|
- ความสับสน
- ความอลหม่าน
- ความรีบร้อน
- การเข้าใจผิด
-
|
|
สตรี.
|
วิภฺรม
|
- การเดินเตร่
- การท่องเที่ยวไป
- ความปั่นป่วนใจ
- ความสงสัย
- ความสง่างาม
|
|
สตรี.
|
วิจารณา
|
|
|
สตรี.
|
วิจี
|
|
|
สตรี.
|
วิจรฺจิกา
|
|
|
สตรี.
|
วิจฺยุติ
|
- ความทรุดโทรม
- ความหายนะ
- ความตกต่ำ
- ความคลาดเคลื่อน
-
|
|
สตรี.
|
วิทารณา
|
|
|
สตรี.
|
วิคีติ
|
- การตำหนิ
- การด่าว่า
- การเหยียดหยาม
-
|
|
สตรี.
|
วิหติ
|
|
|
สตรี.
|
วิกฺริยา
|
- การเปลี่ยนแปลง
- ความตื่นเต้น
- ความโกรธ
- การฝ่าฝืน
- การทำให้เสื่อม
|
|
สตรี.
|
วิตฺติ
|
- ความรู้
- การดำรงชีวิต
- การได้มา
- การค้นพบ
-
|
|
สตรี.
|
วิศฺรานฺติ
|
|
|
สตรี.
|
วิจิ
|
|
|
สตรี.
|
วิจฺฉิตฺติ
|
- การตัดออก
- การฉีกออก
- การแบ่งแยก
- บริเวณ
- เขตแดน
|
|
สตรี.
|
วิจิกิตฺสา
|
|
|
สตรี.
|
วิจิติ
|
|
|
สตรี.
|
วิทิศฺ
|
- จุดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างทิศหลัก เช่น ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
-
|
|
สตรี.
|
วิทิศา
|
- ชื่อของเมืองหลวง
- ชื่อของแม่น้ำ
- จุดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างทิศหลัก เช่น ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
-
|
|
สตรี.
|
วิชิคีษา
|
- ความปรารถนาที่จะชนะ
- การแข่งขัน
- ความทะเยอทะยาน
-
|
|
สตรี.
|
วิชิติ
|
|
|
สตรี.
|
วิศฺรุติ
|
|
|
สตรี.
|
วิศิขา
|
|
|
สตรี.
|
วิชาติ
|
- ประเภท ชนิด หรือเผ่าพันธุ์ที่แตกต่างกัน
-
|
|
สตรี.
|
วิชาตา
|
|
|
สตรี.
|
วิชยา
|
|
|
สตรี.
|
วิกฤติ
|
- การเปลี่ยนแปลง
- อารมณ์
- ความโกรธ
- ความตื่นเต้น
- โรค
|
|
สตรี.
|
วิลาวินี
|
- ผู้หญิง
- หญิงที่ยั่วยวนผู้ชายหรือหญิงเจ้าชู้
-
|
|
สตรี.
|
วิมานนา
|
|
|
สตรี.
|
วิมาตฤ
|
|
|
สตรี.
|
วิมติ
|
- การไม่เห็นด้วย
- ความเห็นต่าง
- ความไม่ชอบ
- ความโง่เขลา
- ข้อโต้แย้ง
|
|
สตรี.
|
วิมุกฺติ
|
- การปลดปล่อยให้เป็นอิสระ
- การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด
-
|
|
สตรี.
|
วิศฺวาสภูมิ
|
|
|
สตรี.
|
วินติ
|
- ความถ่อมตัว
- ความอ่อนน้อมถ่อมตน
-
|
|
สตรี.
|
วิศฺวมฺภรา
|
|
|
สตรี.
|
วิษฺฐา
|
|
|
สตรี.
|
วิขฺยาติ
|
- ชื่อเสียง
- กิตติศัพท์
- เกียรติยศ
-
|
|
สตรี.
|
วิปทฺ
|
- ภัยพิบัติ
- ความหายนะ
- ความตาย
-
|
|
สตรี.
|
วิปทา
|
- ภัยพิบัติ
- ความหายนะ
- ความตาย
-
|
|
สตรี.
|
วิปตฺติ
|
- ความเศร้าโศก
- ความตาย
- ความวิบัติ
-
|
|
สตรี.
|
วิปุลา
|
|
|
สตรี.
|
วิรติ
|
- การเลิก
- การหยุด
- การยุติ
- ความเพิกเฉยต่อการยึดติดทางโลก
-
|
|
สตรี.
|
วิสฺมฤติ
|
- การลืม
- การสูญเสียความทรงจำ
-
|
|
สตรี.
|
วิตณฺฑา
|
- การหาเรื่อง
- การจับผิด
- การโต้เถียง
- การวิจารณ์
- การโต้แย้งที่ผิดพลาด
|
|
สตรี.
|
วิตติ
|
- การยืดออก
- การขยายออก
- ปริมาณ
- กลุ่ม
- ก้อน
|
|
สตรี.
|
วิวฤตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
วิวฤทฺธิ
|
- การเจริญเติบโต
- การเพิ่มขึ้น
-
|
|
สตรี.
|
วิวฤติ
|
- การแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน
- การอธิบาย
- การขยายออก
-
|
|
สตรี.
|
วิธา
|
|
|
สตรี.
|
วิธุติ
|
- การสั่นเทา
- การสั่นระริก
- การสั่นไหว
-
|
|
สตรี.
|
วิธวา
|
|
|
สตรี.
|
วิศาลา
|
- ชื่อของเมืองอุชชยินี (อุชเชน)
-
|
|
สตรี.
|
วิศาขา
|
- กลุ่มดาวนักษัตรชื่อวิศาขา
-
|
|
สตรี.
|
วิศุทฺธิ
|
- การทำให้บริสุทธิ์ที่สมบูรณ์
- ความศักดิ์สิทธิ์
-
|
|
สตรี.
|
ธิษณา
|
- คำพูด
- บทสวด
- ปัญญา
- แผ่นดิน
- โลก
|
|
สตรี.
|
ธิกฺกริยา
|
- การประณาม
- การดูถูก
- การตำหนิ
- การเยาะเย้ย
-
|
|
สตรี.
|
ศิกฺษา
|
- การเรียน
- การสอน
- ความถ่อมตัว
- ชื่อของศาสตร์ 1 ใน 6 เวทางคะ
-
|
|
สตรี.
|
ศิญฺชา
|
|
|
สตรี.
|
ศิปฺรา
|
- ชื่อของแม่น้ำที่ไหลผ่านเมืองอุชเชน
-
|
|
สตรี.
|
ศิญฺชินี
|
|
|
สตรี.
|
ศิพิกา
|
- เกี้ยว
- แคร่
- เปลหาม
- เสลี่ยง
- คานหาม
|
|
สตรี.
|
ศิมฺพิกา
|
|
|
สตรี.
|
ศิปิ
|
|
|
สตรี.
|
ศิลา
|
- ศิลา
- หิน
- สารหนู
- หรดาลแดง
- การบูร
|
|
สตรี.
|
ศิลฺปศาลา
|
|
|
สตรี.
|
ศิมฺพา
|
|
|
สตรี.
|
ศิมฺพี
|
|
|
สตรี.
|
ศิขา
|
- จุดสูงสุด
- เปลวไฟ
- ปอยผมที่เหลือไว้บนส่วนยอดของศีรษะ
-
|
|
สตรี.
|
ศิขริณี
|
- หญิงที่ยอดเยี่ยม
- อาหารชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ศิรา
|
- หลอดเลือดในร่างกาย
- เส้นประสาท
-
|
|
สตรี.
|
ศิโรธิ
|
|
|
สตรี.
|
ศิโรธรา
|
|
|
สตรี.
|
ศิราล
|
- ที่มีเอ็นที่แข็งแรง
- ที่เกี่ยวกับเส้นเลือดดำ
-
|
|
สตรี.
|
ศิวา
|
- ชื่อของพระแม่ปารวตี
- สุนัขจิ้งจอก
-
|
|
สตรี.
|
ศิวานี
|
|
|
สตรี.
|
ชงฺฆา
|
- ขา (จากข้อเท้าถึงหัวเข่า)
- แข้ง
-
|
|
สตรี.
|
ชฆนจปลา
|
|
|
สตรี.
|
ชฤมฺภิกา
|
|
|
สตรี.
|
ชฤมฺภา
|
|
|
สตรี.
|
โชษา
|
|
|
สตรี.
|
โชษิตฺ
|
|
|
สตรี.
|
ชาครา
|
|
|
สตรี.
|
ชามิ
|
- น้องสาวหรือพี่สาว
- ลูกสาว
- ลูกสะใภ้
-
|
|
สตรี.
|
ชานิ
|
|
|
สตรี.
|
ชาริณี
|
- หญิงที่นอกใจสามี
- หญิงที่มีชู้
-
|
|
สตรี.
|
ชาติ
|
- การเกิด
- เชื้อสาย
- ตระกูล
- วรรณะ
- ประเภท
|
|
สตรี.
|
ชาลกินี
|
|
|
สตรี.
|
ชามา
|
|
|
สตรี.
|
ชาหฺนวี
|
|
|
สตรี.
|
ชายา
|
|
|
สตรี.
|
ชฑตา
|
- ความโง่เขลา
- การไร้ความรู้สึก
- ความไม่มีชีวิตชีวา
-
|
|
สตรี.
|
ชคทมฺพา
|
- มารดาของโลก, พระแม่ทุรคา
- พระแม่ทุรคา
- พระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
ชคตี
|
- โลก
- คน
- แม่วัว
- แผ่นดิน
- จังหวะในบทกวีรูปแบบหนึ่ง
|
|
สตรี.
|
ชคฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
ชีรฺณิ
|
- ช่วงหลังของชีวิต
- วัยสูงอายุ
- วัยชรา
-
|
|
สตรี.
|
ชีวิกา
|
- การทำมาหากิน
- การดำรงชีวิต
- การครองชีพ
-
|
|
สตรี.
|
ชลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ชมฺภิกา
|
|
|
สตรี.
|
ชนิ
|
- สตรีทั่วไป
- การเกิด
- แม่
- ภรรยา
- ลูกสะใภ้
|
|
สตรี.
|
ชนิตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
ชฏิ
|
- ผมที่ถูกขมวด
- ผมที่ติดรวมกันเป็นก้อน
-
|
|
สตรี.
|
ชีวา
|
- น้ำ
- โลก
- สายธนู
- เส้นตรงที่เชื่อมจุดบนเส้นรอบวงของวงกลม
- วิธีการอยู่รอดหรือดำรงชีพ
|
|
สตรี.
|
ชีวมาตฤกา
|
- มารดาทั้งเจ็ด (เทพสตรีผู้ปกป้องดูแลและนำความเป็นอยู่ที่ดีมาให้แก่มนุษย์)
-
|
|
สตรี.
|
ชีวฺยา
|
- วิธีทำมาหากิน
- วิธีดำรงชีวิต
-
|
|
สตรี.
|
ชลากา
|
|
|
สตรี.
|
ชลาลุกา
|
|
|
สตรี.
|
ชลาฏนี
|
|
|
สตรี.
|
ชลพาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ชลเทวตา
|
|
|
สตรี.
|
ชลกฺริยา
|
- การกรวดน้ำให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว
-
|
|
สตรี.
|
ชลธิชา
|
|
|
สตรี.
|
ชลลตา
|
|
|
สตรี.
|
ชลโทฺรณี
|
|
|
สตรี.
|
ชลุกา
|
|
|
สตรี.
|
ชลูกา
|
|
|
สตรี.
|
ชลวาหนี
|
- ท่อระบายน้ำ
- ลำรางส่งน้ำ
- ท่อน้ำ
-
|
|
สตรี.
|
ชลยาตฺรา
|
- การเดินเรือ
- การท่องเที่ยวทางทะเล
- การเดินทางโดยเรือ
-
|
|
สตรี.
|
ชมฺภา
|
|
|
สตรี.
|
ชมฺภกา
|
|
|
สตรี.
|
ชมฺพาลินี
|
|
|
สตรี.
|
ชมฺพุ
|
|
|
สตรี.
|
ชมฺพู
|
|
|
สตรี.
|
ชนา
|
|
|
สตรี.
|
ชนี
|
- สตรีทั่วไป
- การเกิด
- แม่
- ภรรยา
- ลูกสะใภ้
|
|
สตรี.
|
ชนีกา
|
- สตรีทั่วไป
- การเกิด
- แม่
- ภรรยา
- ลูกสะใภ้
|
|
สตรี.
|
ชนนิ
|
|
|
สตรี.
|
ชนศฺรุติ
|
|
|
สตรี.
|
ชนยิตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
ชนฺมภาษา
|
|
|
สตรี.
|
ชนฺมปฺรติษฺฏา
|
|
|
สตรี.
|
ชนฺมาษฺฏมี
|
|
|
สตรี.
|
ชนฺมกุณฺฑลี
|
- แผ่นดวงชะตาที่แสดงตำแหน่งของดาวต่าง ๆ ในช่วงเวลาที่เกิด
-
|
|
สตรี.
|
ชนมรฺยาทา
|
- ธรรมเนียมปฏิบัติที่เป็นที่นิยม
- ขนบธรรมเนียมหรือประเพณีที่เป็นที่ยอมรับ
-
|
|
สตรี.
|
ชนนี
|
|
|
สตรี.
|
ชนตา
|
- มนุษยชาติ
- สมภพ
- การเกิด
- ชุมชน
- การชุมนุมของคน
|
|
สตรี.
|
ชนุ
|
- การเกิด
- การเกิด
- ชีวิต
- สถานที่เกิด
- การสร้าง
|
|
สตรี.
|
ชนู
|
- การเกิด
- การเกิด
- ชีวิต
- สถานที่เกิด
- การสร้าง
|
|
สตรี.
|
ชนฺยา
|
- เพื่อนของมารดา
- เพื่อนเจ้าสาว
- ความปิติยินดี
- ความรัก
-
|
|
สตรี.
|
ชปา
|
|
|
สตรี.
|
ชปมาลา
|
|
|
สตรี.
|
ชฏา
|
- ผมที่ถักเป็นกลุ่มตามความยาวของผม
- ผมที่ติดรวมกันเป็นก้อน
- ผมที่ถูกขมวดเกล้าสูงขึ้นไป
-
|
|
สตรี.
|
ชรา
|
|
|
สตรี.
|
ชรตี
|
|
|
สตรี.
|
ชู
|
|
|
สตรี.
|
ชุคุปฺสา
|
- การตำหนิ
- การติเตียน
- การด่าว่า
- ความรังเกียจ
- ความเกลียดชัง
|
|
สตรี.
|
ชูติ
|
- ความเร็ว
- ความไว
- ความรวดเร็ว
-
|
|
สตรี.
|
ชูรฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ชฺวาลา
|
- เปลวเพลิง
- แสงสว่าง
- ความสว่าง
- คบเพลิง
-
|
|
สตรี.
|
ชวนิกา
|
|
|
สตรี.
|
ชฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ชฺโยษฺมติ
|
- คืนที่ส่องสว่างโดยดวงดาว
- สภาพของจิตใจที่สงบสุข (ในปรัชญาโยคะ)
-
|
|
สตรี.
|
ชฺโยติษี
|
|
|
สตรี.
|
ชฺโยติะศาสฺตรฺ
|
|
|
สตรี.
|
ชฺโยติรฺวิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ชฺโยตฺสฺนา
|
|
|
สตรี.
|
ชฺโยตฺสฺนี
|
|
|
สตรี.
|
ชฺยานิ
|
|
|
สตรี.
|
ชฺเยษฺฏา
|
- พี่สาว
- นิ้วกลาง
- จิ้งจก
- กลุ่มดาวนักษัตรที่ 16 (หรือที่กำหนดโดยการคำนวณสมัยใหม่คือกลุ่มดาวนักษัตรที่ 18)
-
|
|
สตรี.
|
ชยนฺตี
|
|
|
สตรี.
|
กษา
|
|
|
สตรี.
|
กเษรุกา
|
|
|
สตรี.
|
กฤษฺณา
|
|
|
สตรี.
|
กฤษฺณี
|
|
|
สตรี.
|
กฤษิ
|
- การเพาะปลูก
- เกษตรกรรม
- การเกษตร
-
|
|
สตรี.
|
กฤษฺณิกา
|
|
|
สตรี.
|
กฤตฺติ
|
- เปลือกไม้ของต้นไม้ชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
กฤตฺติกา
|
- ชื่อของกลุ่มดาวอันดับที่ 3
-
|
|
สตรี.
|
กฤมิชา
|
|
|
สตรี.
|
กฤมิลา
|
|
|
สตรี.
|
กฤติ
|
|
|
สตรี.
|
กฤปา
|
- ความเห็นใจ
- ความเวทนา
- ความสงสาร
-
|
|
สตรี.
|
กฤปาณี
|
|
|
สตรี.
|
กฤปาณิกา
|
|
|
สตรี.
|
กฤตฺยา
|
- กรรม
- การกระทำ
- เวทมนตร์
- เทพสตรีที่ได้รับการบูชาเพื่อวัตถุประสงค์ในการทำลายล้างและเกี่ยวกับเวทมนตร์
-
|
|
สตรี.
|
กฤศลา
|
|
|
สตรี.
|
กงฺกณี
|
- ระฆังเล็ก
- เครื่องประดับที่ได้รับการตกแต่งด้วยกระดิ่ง
-
|
|
สตรี.
|
กงฺกณีกา
|
- ระฆังเล็ก
- เครื่องประดับที่ได้รับการตกแต่งด้วยกระดิ่ง
-
|
|
สตรี.
|
กงฺกติกา
|
|
|
สตรี.
|
กรฺโณปกรฺณิกา
|
- ข่าวลือ
- การไปจากหูหนึ่งสู่หูอื่น ๆ
-
|
|
สตรี.
|
กรฺณปรํปรา
|
- คำบอกเล่า
- ข่าวลือ
- การไปจากหูหนึ่งสู่หูอื่น ๆ
-
|
|
สตรี.
|
กกฺษา
|
- เชือกผูกช้าง
- สายรัดช้าง
- เข็มขัดผู้หญิง
- ข้อมือ
- สนาม
|
|
สตรี.
|
กณฺฑนี
|
- สาก
- ครกไม้ (สำหรับใช้ในการตำข้าว)
-
|
|
สตรี.
|
กณฺฑรา
|
|
|
สตรี.
|
กณฺฑู
|
- ความรู้สึกคัน
- อาการคัน
- ความปรารถนาอย่างแรงกล้า
-
|
|
สตรี.
|
กณฺฑูยา
|
|
|
สตรี.
|
กณฺฑูยนี
|
|
|
สตรี.
|
กณฺฐภูษา
|
- เครื่องประดับคอ
- สร้อยคอ
- ปลอกคอ
-
|
|
สตรี.
|
กณฺฐี
|
- สร้อยคอ
- ปลอกคอ
- เครื่องประดับคอ
-
|
|
สตรี.
|
กางฺกฺษา
|
- ความปรารถนา
- ความชอบ
- ความโน้มเอียง
-
|
|
สตรี.
|
กาเณลี
|
- ผู้หญิงที่ไม่บริสุทธิ์หรือผู้หญิงที่ไม่ซื่อสัตย์
- ผู้หญิงที่ยังไม่แต่งงาน
-
|
|
สตรี.
|
กาญฺจี
|
- เข็มขัด
- ชื่อของเมืองโบราณทางตอนใต้ของอินเดีย
-
|
|
สตรี.
|
กญฺจุลิกา
|
- เสื้อท่อนบนของสตรี
- เสื้อรัดทรงสตรี
-
|
|
สตรี.
|
กาทมฺพินี
|
- แถวของเมฆ
- แถวที่หนาแน่นของเมฆ
-
|
|
สตรี.
|
กาทมฺพรี
|
- เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
- เทพีแห่งการเรียนรู้
- นกกาเหว่าตัวเมีย
-
|
|
สตรี.
|
โกฏิ
|
- ความที่สุด
- จุดสูงสุด
- ความยอดเยี่ยม
- โกฏิหรือสิบล้าน
- พระจันทร์เสี้ยวที่มีลักษณะคล้ายเขาสัตว์
|
|
สตรี.
|
เกามุที
|
|
|
สตรี.
|
โกฏี
|
- ความที่สุด
- จุดสูงสุด
- ความยอดเยี่ยม
- โกฏิหรือสิบล้าน
- พระจันทร์เสี้ยวที่มีลักษณะคล้ายเขาสัตว์
|
|
สตรี.
|
โกสลา
|
|
|
สตรี.
|
เกาศามฺภี
|
|
|
สตรี.
|
เกาศลิกา
|
|
|
สตรี.
|
เกาศลี
|
|
|
สตรี.
|
เกาศลฺยา
|
|
|
สตรี.
|
กาหลา
|
|
|
สตรี.
|
กาหลี
|
|
|
สตรี.
|
กาลิกา
|
- สีดำ
- ความดำมืด
- หมึก
- อีกาตัวเมีย
- เมฆดำ
|
|
สตรี.
|
กาลินฺที
|
|
|
สตรี.
|
กามินี
|
- ผู้หญิงหรือผู้หญิงที่น่ารัก
-
|
|
สตรี.
|
กานฺติ
|
- ความน่ารัก
- ความสวย
- ความงดงาม
- ความโชติช่วง
-
|
|
สตรี.
|
การิกา
|
|
|
สตรี.
|
กายิกา
|
- ผลประโยชน์ที่ได้มาจากต้นทุน
-
|
|
สตรี.
|
กากลิ
|
- เสียงต่ำและหวานหรือไพเราะ
-
|
|
สตรี.
|
กากนิทฺรา
|
|
|
สตรี.
|
กากลี
|
- เสียงต่ำและหวานหรือไพเราะ
-
|
|
สตรี.
|
กากุ
|
- การเปลี่ยนเสียงในอารมณ์ที่แตกต่างกัน
- การพูดพึมพำ
- การบ่น
-
|
|
สตรี.
|
กาลา
|
|
|
สตรี.
|
กาลี
|
- พระแม่ปารวตี
- แนวเมฆดำ
- กลางคืน
- หมึก
-
|
|
สตรี.
|
กาลกรฺณิกา
|
|
|
สตรี.
|
กาลวฤทฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
กามกฺรีฑา
|
- กีฬาเกี่ยวกับความรัก
- การมีเพศสัมพันธ์
- ระเริงรัก
- การเล่นรัก
-
|
|
สตรี.
|
กามทุฆา
|
- แม่วัววิเศษที่ให้ทุกสิ่งตามความปรารถนา
-
|
|
สตรี.
|
กามทุหฺ
|
- แม่วัววิเศษที่ให้ทุกสิ่งตามความปรารถนา
-
|
|
สตรี.
|
กามทูตี
|
- นกกาเหว่าอินเดียตัวเมียหรือนกดุเหว่าอินเดียตัวเมีย
-
|
|
สตรี.
|
กามเลขา
|
- หญิงแพศยา
- หญิงโสเภณี
- หญิงงามเมือง
-
|
|
สตรี.
|
กามลตา
|
|
|
สตรี.
|
กามนา
|
|
|
สตรี.
|
กามปตฺนี
|
- รติผู้เป็นภรรยาของเทพเจ้าแห่งความรัก
-
|
|
สตรี.
|
กามเรขา
|
- หญิงแพศยา
- หญิงโสเภณี
- หญิงงามเมือง
-
|
|
สตรี.
|
กามุกา
|
- ผู้หญิงที่ปรารถนาในทรัพย์สมบัติ
-
|
|
สตรี.
|
กามุกี
|
|
|
สตรี.
|
กามวลฺลภา
|
|
|
สตรี.
|
กามเธนุ
|
- แม่วัววิเศษที่ให้ทุกสิ่งตามความปรารถนา
-
|
|
สตรี.
|
กามฺยา
|
|
|
สตรี.
|
กานฺตา
|
- หญิงผู้เป็นที่รัก
- ภรรยา
- อนุภรรยา
-
|
|
สตรี.
|
กาษฺฏา
|
- เส้นทางของลมและเมฆ
- ทิศทาง
- ภูมิภาค
- ขอบเขต
- ภาวะสุดขีด
|
|
สตรี.
|
กาษฏมฐี
|
|
|
สตรี.
|
การณา
|
- ความเจ็บปวด
- ความทุกข์ทรมาน
-
|
|
สตรี.
|
กาสฤติ
|
- ถนน เล็ก ๆ ที่ไม่ค่อยมีรถแล่นผ่าน
- ถนนส่วนตัว
- ตรอก
- ซอย
- เส้นทางลับ
|
|
สตรี.
|
กาตฺยายนี
|
- หญิงหม้ายที่มีอายุมากหรือหญิงหม้ายที่มีอายุช่วงกลาง
- หญิงหม้ายที่มีอายุมากหรือหญิงหม้ายที่มีอายุช่วงกลาง
-
|
|
สตรี.
|
กาเวรี
|
- โสเภณี (ระดับสูง)
- ขมิ้น
- ชื่อของแม่น้ำทางใต้ของอินเดีย
-
|
|
สตรี.
|
กาวฺยา
|
|
|
สตรี.
|
กายสฺถี
|
- ภรรยาของกายัสถะหรือนักเขียน
-
|
|
สตรี.
|
กาศี
|
|
|
สตรี.
|
กาศฺยปี
|
|
|
สตรี.
|
กพรี
|
|
|
สตรี.
|
กพรี
|
|
|
สตรี.
|
กจฺฉภู
|
|
|
สตรี.
|
กจฉาฏี
|
- ชายเสื้อผ้าส่วนล่างสอดเข้าไปในแถบคาดเอว
-
|
|
สตรี.
|
กจฺฉฏิกา
|
- ชายเสื้อผ้าส่วนล่างสอดเข้าไปในแถบคาดเอว
-
|
|
สตรี.
|
กจฺฉุ
|
- ความรู้สึกคัน
- อาการคัน
- สะเก็ดแผล
-
|
|
สตรี.
|
กจฺฉู
|
- ความรู้สึกคัน
- อาการคัน
- สะเก็ดแผล
-
|
|
สตรี.
|
กรฺตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
กทลี
|
|
|
สตรี.
|
กรุณา
|
- ความเมตตากรุณา
- ความเห็นใจ
- ความสงสาร
- ความอ่อนโยน
-
|
|
สตรี.
|
เกกฺษปฺรสาธนี
|
|
|
ปุล.
สตรี.
|
เกลิ
|
|
|
สตรี.
|
เกลิ
|
|
|
สตรี.
|
เกกา
|
|
|
สตรี.
|
เกลี
|
|
|
สตรี.
|
ไกรวี
|
|
|
สตรี.
|
เกตุยษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
เกศภูมิ
|
|
|
สตรี.
|
กรฺณิกา
|
- ต่างหู
- นิ้วกลาง
- จุดศูนย์กลาง
- ศูนย์กลาง
-
|
|
สตรี.
|
กณฺฐิกา
|
- สร้อยคอที่มีเส้นเดียวหรือแถวเดียว
-
|
|
สตรี.
|
กีลิกา
|
|
|
สตรี.
|
กีรฺติ
|
- ชื่อเสียง
- ความมีชื่อเสียง
- เกียรติ
-
|
|
สตรี.
|
กลิ
|
|
|
สตรี.
|
กลิกา
|
- ดอกตูม
- ต้นอ่อน
- หน่อ
- ช่อ
- ตาต้นไม้
|
|
สตรี.
|
กลินฺทกนฺชา
|
|
|
สตรี.
|
กลินฺทกนฺสุตา
|
|
|
สตรี.
|
กลินฺทกนฺยา
|
|
|
สตรี.
|
กลินฺทนนฺทินี
|
|
|
สตรี.
|
กลินฺทตนยา
|
|
|
สตรี.
|
กมฺพิ
|
|
|
สตรี.
|
กนิษฺฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
กนฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
กนฺยิกา
|
- หญิงสาว
- หญิงพรหมจารี
- ลูกสาว
-
|
|
สตรี.
|
กปิลา
|
|
|
สตรี.
|
กปิลธารา
|
|
|
สตรี.
|
กฏิ
|
|
|
สตรี.
|
กฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
กฐิกา
|
|
|
สตรี.
|
กฐินตา
|
- ความแข็ง
- ความมั่นคง
- ความแข็งแรง
- ความโหดร้าย
- ความรุนแรง
|
|
สตรี.
|
กฏิศฤงฺขลา
|
- สายคาดที่มีกระดิ่งขนาดเล็ก
-
|
|
สตรี.
|
กริณี
|
|
|
สตรี.
|
กีรฺตนา
|
|
|
สตรี.
|
กวิตา
|
|
|
สตรี.
|
กกุทฺ
|
- ยอดเขา
- หัวหน้า
- หนอกบนไหล่ของวัวอินเดียตัวผู้
- ธงหรือสัญลักษณ์ของราชนิกุล
-
|
|
สตรี.
|
กกุทฺมตี
|
|
|
สตรี.
|
กลา
|
- ส่วนเล็ก ๆ
- ส่วนเสี้ยวของพระจันทร์ (ซึ่งพระจันทร์ทั้งดวงแบ่งออกเป็น 16 ส่วน)
- การแบ่งเวลา
- ศิลปะ
-
|
|
สตรี.
|
กลาปินี
|
|
|
สตรี.
|
กลนา
|
- ความเข้าใจ
- การสวมใส่
- การกระตุ้น
- การจับยึด
-
|
|
สตรี.
|
กลฺปลติกา
|
- เถาวัลย์มหัศจรรย์ที่ให้ความปรารถนาทั้งปวงสมปรารถนา
-
|
|
สตรี.
|
กลฺปลตา
|
- เถาวัลย์มหัศจรรย์ที่ให้ความปรารถนาทั้งปวงสมปรารถนา
-
|
|
สตรี.
|
กลฺปนา
|
- การจัดการ
- การตกแต่ง
- การประดิษฐ์
- การแต่ง
- การประพันธ์
|
|
สตรี.
|
กลฺปนี
|
|
|
สตรี.
|
กลสี
|
|
|
สตรี.
|
กลฺยา
|
|
|
สตรี.
|
กลฺยาณี
|
|
|
สตรี.
|
กลฺยชคฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
กลศี
|
|
|
สตรี.
|
กมา
|
|
|
สตรี.
|
กมฺพี
|
|
|
สตรี.
|
กมฺพลิกา
|
- ผ้าห่มผืนเล็ก
- กวางตัวเมียประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
กมฺพุคฺรีวา
|
- คอที่มีเครื่องหมายสามเส้นคล้ายเปลือกหอย
-
|
|
สตรี.
|
กมลินี
|
- ดอกบัว
- บัว
- กลุ่มของดอกบัว
- สถานที่ที่เต็มไปด้วยดอกบัว
-
|
|
สตรี.
|
กมลา
|
- ฉายาของพระแม่ลักษมี
- ผู้หญิงที่ยอดเยี่ยม
-
|
|
สตรี.
|
กรฺมภู
|
- พื้นดินที่ถูกไถพรวนแล้ว
- ดินแดนหรือพื้นที่แห่งการกระทำทางศาสนา
-
|
|
สตรี.
|
กรฺมภูมิ
|
- พื้นดินที่ถูกไถพรวนแล้ว
- ดินแดนหรือพื้นที่แห่งการกระทำทางศาสนา
-
|
|
สตรี.
|
กรฺมศาลา
|
|
|
สตรี.
|
กนฺทลี
|
|
|
สตรี.
|
กนฺทรา
|
|
|
สตรี.
|
กนีนิกา
|
|
|
สตรี.
|
กนีนี
|
|
|
สตรี.
|
กนฺถา
|
|
|
สตรี.
|
กนฺธรา
|
|
|
สตรี.
|
กนฺยา
|
- หญิงสาวที่ยังไม่ได้แต่งงาน
- ผู้หญิงทั่วไป
- ราศีกันย์
- หญิงพรหมจารี
-
|
|
สตรี.
|
กนฺยกา
|
- เด็กผู้หญิงอายุ 10 ขวบ
- หญิงพรหมจารี
-
|
|
สตรี.
|
กขฺยา
|
|
|
สตรี.
|
กโปลภิตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
กโปตปาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
กโปตปาลี
|
|
|
สตรี.
|
กปรฺทิกา
|
- เบี้ยหรือหอยเบี้ย (ใช้แทนเหรียญกษาปณ์)
-
|
|
สตรี.
|
กฏี
|
|
|
สตรี.
|
กฏมาลินี
|
|
|
สตรี.
|
กรโภรู
|
- ผู้หญิงที่มีขาอ่อนคล้ายกับงวงช้างหรือด้านหลังแขนช่วงปลาย
-
|
|
สตรี.
|
กรณฺฑี
|
|
|
สตรี.
|
กรณฺฑิกา
|
|
|
สตรี.
|
กเรณุ
|
|
|
สตรี.
|
กรกา
|
|
|
สตรี.
|
กรปาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
กรตาลิกา
|
- การปรบมือ
- ฉาบหรือฉิ่งประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
กรตาลี
|
- การปรบมือ
- ฉาบหรือฉิ่งประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
กลฺโลลินี
|
|
|
สตรี.
|
กสฺตุริกา
|
- กลิ่นรุนแรงจากสัตว์
- ชะมดเชียง
-
|
|
สตรี.
|
กสฺตุรี
|
|
|
สตรี.
|
กรฺตริกา
|
|
|
สตรี.
|
กรฺตนี
|
|
|
สตรี.
|
กรฺตรี
|
|
|
สตรี.
|
กตฺถนา
|
|
|
สตรี.
|
กู
|
- เด็กหญิงที่ซุกซน
- ผู้หญิงตัวน้อย
-
|
|
สตรี.
|
กุ
|
|
|
สตรี.
|
กุฏฺฏนี
|
- ผู้หญิงที่เป็นผู้จัดหาหญิงเพื่อวัตถุประสงค์ทางเพศ
-
|
|
สตรี.
|
กุณฺโฑธฺนี
|
- เต้านมที่เต่งตึงของวัวตัวเมีย
- หน้าอกที่เต่งตึงของผู้หญิง
-
|
|
สตรี.
|
กูจี
|
|
|
สตรี.
|
กูหา
|
|
|
สตรี.
|
กุหนา
|
|
|
สตรี.
|
กุหุ
|
- วันเดือนดับหรือวันแรกของการขึ้นปฏิทินจันทรคติ
-
|
|
สตรี.
|
กุหู
|
- วันเดือนดับหรือวันแรกของการขึ้นปฏิทินจันทรคติ
-
|
|
สตรี.
|
กูณิกา
|
- เขาสัตว์
- หมุดของเครื่องดนตรีประเภทพิณชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
กุณฺฑิกา
|
- เหยือกน้ำ
- หม้อน้ำของเด็กนักเรียน
- ผู้ขว้าง
-
|
|
สตรี.
|
กุญฺจิกา
|
|
|
สตรี.
|
กูจิกา
|
|
|
สตรี.
|
กูรฺจิกา
|
- ดินสอ
- กุญแจ
- แปรงสำหรับวาดเขียน
- ดอกตูม
-
|
|
สตรี.
|
กุมฺภิกา
|
|
|
สตรี.
|
กุนิกา
|
|
|
สตรี.
|
กุชฺฌฏิ
|
|
|
สตรี.
|
กุชฺฌฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
กุชฺฌฏี
|
|
|
สตรี.
|
กุลภฤตฺยา
|
- พยาบาลผดุงครรภ์
- หมอตำแย
- การดูแลหญิงมีครรภ์
-
|
|
สตรี.
|
กูลํกษา
|
|
|
สตรี.
|
กุลางฺคนา
|
|
|
สตรี.
|
กุลายิกา
|
|
|
สตรี.
|
กุลเทวตา
|
- เทพเจ้าผู้คุ้มครองครอบครัว
-
|
|
สตรี.
|
กุลี
|
|
|
สตรี.
|
กุลสฺถิติ
|
- ความเก่าแก่หรือความเจริญรุ่งเรืองของตระกูล
-
|
|
สตรี.
|
กุลกนฺยา
|
- ผู้ก่อตั้งตระกูล
- บรรพบุรุษ
-
|
|
สตรี.
|
กุลมรฺยาทา
|
|
|
สตรี.
|
กุลสฺตฺรี
|
- หญิงที่มาจากครอบครัวที่ดี
-
|
|
สตรี.
|
กุลปำสุกา
|
|
|
สตรี.
|
กุลปาลิ
|
- หญิงผู้มีชาติตระกูลสูงที่ยังบริสุทธิ์
-
|
|
สตรี.
|
กุลฏา
|
|
|
สตรี.
|
กุลสํขฺยา
|
- ความน่าเคารพนับถือของครอบครัว
- ความน่ายำเกรงของครอบครัว
-
|
|
สตรี.
|
กุลวธู
|
- หญิงที่มาจากครอบครัวที่ดี
- หญิงที่น่าเคารพนับถือ
-
|
|
สตรี.
|
กุลฺยา
|
|
|
สตรี.
|
กุมฺภา
|
|
|
สตรี.
|
กุมฺภี
|
- เหยือกน้ำขนาดเล็ก
- โอ่งน้ำที่มีขนาดเล็ก
-
|
|
สตรี.
|
กุมาริกา
|
- เด็กหญิงอายุราว 10-12 ปี
- สาวพรหมจารี
- ลูกสาว
- หญิงสาว
- ฉายาของเจ้าแม่ทุรคา
|
|
สตรี.
|
กุมารี
|
- เด็กหญิงอายุราว 10-12 ปี
- สาวพรหมจารี
- ลูกสาว
- หญิงสาว
- ฉายาของเจ้าแม่ทุรคา
|
|
สตรี.
|
กุมุทินี
|
- สถานที่ที่เต็มไปด้วยดอกบัว
- บัวสายที่มีดอกบัวสีขาว
-
|
|
สตรี.
|
กุมุทฺวตี
|
|
|
สตรี.
|
กูปี
|
|
|
สตรี.
|
กุฐาริกา
|
|
|
สตรี.
|
กุฏี
|
|
|
สตรี.
|
กุฏุมฺพินี
|
|
|
สตรี.
|
กุรงฺคนาภิ
|
|
|
สตรี.
|
กุรรี
|
|
|
สตรี.
|
กุสฤติ
|
|
|
สตรี.
|
กุสีทายี
|
|
|
สตรี.
|
กุกฺกุฏิ
|
|
|
สตรี.
|
กุสุมวตี
|
- หญิงที่อยู่ในช่วงมีประจำเดือน
-
|
|
สตรี.
|
กุกฺกุฏี
|
|
|
สตรี.
|
กุตฺสา
|
- การดูถูก
- การหมิ่นประมาท
- การตำหนิ
- การด่าว่า
-
|
|
สตรี.
|
กุวลยินี
|
|
|
สตรี.
|
กุศา
|
|
|
สตรี.
|
กุศสฺถลี
|
|
|
สตรี.
|
กวรี
|
|
|
สตรี.
|
กถํตา
|
|
|
สตรี.
|
กถา
|
- การพูดถึง
- การสนทนา
- นิทาน
- ร้อยแก้ว
- เรื่องเล่า
|
|
สตรี.
|
กศา
|
|
|
สตรี.
|
ลงฺกา
|
|
|
สตรี.
|
ลกฺษณา
|
- จุดประสงค์
- การใช้คำที่มีความหมายสัมพันธ์กันแทนกัน
-
|
|
สตรี.
|
ลชฺชา
|
- ความอาย
- ความละอาย
- ความประหม่า
-
|
|
สตรี.
|
ลากฺษา
|
- ครั่ง
- สีที่ใช้สำหรับการย้อมชนิดหนึ่งซึ่งมีสีแดงได้มาจากยางไม้และแมลง
-
|
|
สตรี.
|
ลางฺคลีษา
|
|
|
สตรี.
|
โลกมรฺยาทา
|
- ขนบธรรมเนียมหรือประเพณีที่เป็นที่ยอมรับ
-
|
|
สตรี.
|
โลกยาตฺรา
|
- หน้าที่หรือสิ่งที่ต้องทำในการดำรงชีวิต
- ชีวิตประจำวัน
- สิ่งสนับสนุนในการดำเนินชีวิต
-
|
|
สตรี.
|
โลลุปา
|
- ความอยาก
- ความปรารถนาอย่างมาก
-
|
|
สตรี.
|
ลาลินี
|
|
|
สตรี.
|
ลาสิกา
|
|
|
สตรี.
|
ลาชา
|
- เมล็ดธัญพืชโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมล็ดข้าวที่ทำเป็นอาหารโดยการทอด
- คั่วหรืออบแห้ง
-
|
|
สตรี.
|
ลาลา
|
|
|
สตรี.
|
ลาลสา
|
|
|
สตรี.
|
เลขา
|
- เส้น
- การเขียนหนังสือ
- การวาด
- ขอบ
- ริม
|
|
สตรี.
|
เลขน
|
|
|
สตรี.
|
เลขนี
|
|
|
สตรี.
|
ลหริ
|
|
|
สตรี.
|
ลหรี
|
|
|
สตรี.
|
ลพฺธิ
|
- การได้รับ
- ผลประโยชน์
- ผลของการหาร (คณิตศาสตร์)
-
|
|
สตรี.
|
ลีลา
|
- การเล่น
- กีฬา
- กิจกรรมที่ให้ความบันเทิง
- ลักษณะท่าทาง
- ความงดงาม
|
|
สตรี.
|
ลลิตา
|
|
|
สตรี.
|
ลสิกา
|
|
|
สตรี.
|
ลติกา
|
|
|
สตรี.
|
ลลนา
|
|
|
สตรี.
|
ลตา
|
|
|
สตรี.
|
ลุจฺ
|
|
|
สตรี.
|
ลูติกา
|
|
|
สตรี.
|
ลกฺษฺมี
|
- ความมั่งคั่ง
- ความโชคดี
- ความสำเร็จ
- พระแม่ลักษมี
- เทวีแห่งทรัพย์สมบัติ
|
|
สตรี.
|
ลวลี
|
|
|
สตรี.
|
มโฆนี
|
|
|
สตรี.
|
มณฺฑา
|
|
|
สตรี.
|
มฤณาลิกา
|
- สายบัวหรือใยบัว
- รากฝอยของบัว
- บัวหรือดอกบัว
-
|
|
สตรี.
|
มฤณาลินี
|
- บัว
- กอบัว
- สถานที่ที่เต็มไปด้วยบัว
-
|
|
สตรี.
|
มฤณาลี
|
- สายบัวหรือใยบัว
- รากฝอยของบัว
- บัวหรือดอกบัว
-
|
|
สตรี.
|
มฤทฺ
|
|
|
สตรี.
|
มฤฑา
|
|
|
สตรี.
|
มฤคณา
|
- การค้นหา
- การตรวจสอบหาความจริง
- การสืบสวน
-
|
|
สตรี.
|
มฤคี
|
|
|
สตรี.
|
มฤคตฤษฺณา
|
|
|
สตรี.
|
มฤคยา
|
- การล่าสัตว์
- การไล่ล่า
- การไล่ตาม
-
|
|
สตรี.
|
มฤตฺติกา
|
- ดิน
- ดินเหนียว
- ดินหอมชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
มฤติ
|
|
|
สตรี.
|
มฤชา
|
|
|
สตรี.
|
มาฆวตี
|
|
|
สตรี.
|
มำสคฺรนฺถิ
|
- การบวมของเนื้อ
- ต่อมในร่างกาย
-
|
|
สตรี.
|
มำสหาสา
|
|
|
สตรี.
|
มำสเปศี
|
|
|
สตรี.
|
มาตฺรา
|
- การชั่งตวงวัด
- ทรัพย์สมบัติ
- วัตถุ
- หน่วยวัดที่เป็นฟุต
- จำนวนเล็กน้อย
|
|
สตรี.
|
โมษา
|
|
|
สตรี.
|
โมหนิทฺรา
|
- ความเชื่อมั่นที่หลงผิด
- ความเชื่อมั่นที่ปราศจากความคิด
-
|
|
สตรี.
|
เมาญฺชิ
|
- สายคาดเอวของพราหมณ์ที่ทำจากเส้นหญ้ามุญชะ 3 เส้น
-
|
|
สตรี.
|
โมหินี
|
- ชื่อของนางอัปสร
- หญิงงามที่น่าหลงใหลผู้เป็นรูปแปลงของพระนารายณ์
-
|
|
สตรี.
|
เมาญฺชี
|
- สายคาดเอวของพราหมณ์ที่ทำจากเส้นหญ้ามุญชะ 3 เส้น
-
|
|
สตรี.
|
เมาลี
|
|
|
สตรี.
|
เมารฺวี
|
|
|
สตรี.
|
มาคธี
|
- เจ้าหญิงแห่งแค้วนมคธ
- ภาษาปรากฤตท้องถิ่น
- น้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์
-
|
|
สตรี.
|
มาเหนฺทฺรี
|
|
|
สตรี.
|
มารฺชิตา
|
- นมที่จับตัวเป็นก้อนมีรสเปรี้ยวผสมกับน้ำตาลและเครื่องเทศ
-
|
|
สตรี.
|
มาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
มานินี
|
- ผู้หญิงที่ขุ่นเคืองคนรักของตนเอง
-
|
|
สตรี.
|
มญฺชริ
|
|
|
สตรี.
|
มารฺชารี
|
|
|
สตรี.
|
มารฺชนี
|
|
|
สตรี.
|
มาลา
|
- พวงมาลัย
- แถว
- กลุ่ม
- สายสร้อย
- สร้อยคอ
|
|
สตรี.
|
มาลติ
|
|
|
สตรี.
|
มาลตี
|
|
|
สตรี.
|
มานนา
|
|
|
สตรี.
|
มญฺชรี
|
|
|
สตรี.
|
มาตฺฤ
|
- มารดา
- แม่วัว
- พระแม่ทุรคา
- โลก
- พื้นดิน
|
|
สตรี.
|
มาตฤกา
|
|
|
สตรี.
|
มาตา
|
|
|
สตรี.
|
มาตามหี
|
|
|
สตรี.
|
มาตุลา
|
- ป้า
- อาผู้หญิง
- น้าผู้หญิง (ฝ่ายมารดา)
- ป้าสะใภ้
- อาสะใภ้
|
|
สตรี.
|
มาตุลานี
|
- ป้า
- อาผู้หญิง
- น้าผู้หญิง (ฝ่ายมารดา)
- ป้าสะใภ้
- อาสะใภ้
|
|
สตรี.
|
มาตุลี
|
- ป้า
- อาผู้หญิง
- น้าผู้หญิง (ฝ่ายมารดา)
- ป้าสะใภ้
- อาสะใภ้
|
|
สตรี.
|
มญฺชูษา
|
|
|
สตรี.
|
มาธุกรี
|
- ของบริจาคที่ได้รับจากสถานที่ต่างกัน
-
|
|
สตรี.
|
มาธุรี
|
|
|
สตรี.
|
มาธวี
|
- กะเพรา
- เครื่องดื่มชนิดหนึ่งทำจากน้ำผึ้ง
-
|
|
สตรี.
|
มายา
|
- มายา
- การหลอกลวง
- สิ่งหลอกลวง
- ภาพลวงตา
- เล่ห์เหลี่ยมทางการเมือง
|
|
สตรี.
|
เมษี
|
|
|
สตรี.
|
เมฆครฺชนา
|
|
|
สตรี.
|
ไมตฺรี
|
- มิตรภาพ
- ความเป็นเพื่อน
- การรวมกัน
-
|
|
สตรี.
|
เมษิกา
|
|
|
สตรี.
|
เมทินี
|
|
|
สตรี.
|
ไมถิลี
|
|
|
สตรี.
|
เมลา
|
- การรวมตัวกัน
- การติดต่อกัน
- การชุมนุม
- การสมาคม
- กลุ่มคน
|
|
สตรี.
|
เมนกา
|
|
|
สตรี.
|
เมขลา
|
- เข็มขัด
- สายรัดเอว
- สายสะพายกระบี่
- ไหล่เขา
- สะโพก
|
|
สตรี.
|
มรุสฺถลี
|
|
|
สตรี.
|
เมธา
|
- สติปัญญา
- ความฉลาด
- ความทรงจำที่เก็บรักษาไว้
- รูปหนึ่งของพระแม่สรัสวตี
-
|
|
สตรี.
|
มหาทศา
|
- อิทธิพลของดาวเคราะห์ที่มีอำนาจเหนือโชคชะตาของมนุษย์
-
|
|
สตรี.
|
มหานิทฺรา
|
|
|
สตรี.
|
มหานิศา
|
- ดึกสงัด
- เที่ยงคืน
- สมญาของ พระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
มหามายา
|
- สิ่งลวงตาที่ยิ่งใหญ่
- มหามายา
- พระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
มหี
|
- โลก
- แผ่นดิน
- พื้นดิน
- วัวตัวเมีย
-
|
|
สตรี.
|
มหตี
|
|
|
สตรี.
|
มณิกรฺณิกา
|
- ท่าน้ำศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งของแม่น้ำคงคาในเมืองพาราณสี
-
|
|
สตรี.
|
มกฺษิกา
|
|
|
สตรี.
|
มญฺชิกา
|
|
|
สตรี.
|
มทิรา
|
- เหล้าองุ่น
- สุรา
- ชื่อของพระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
มทิรากฺษี
|
- หญิงผู้มีดวงตาที่น่าหลงใหล
-
|
|
สตรี.
|
มหิษี
|
|
|
สตรี.
|
มหิลา
|
|
|
สตรี.
|
มลินา
|
- ผู้หญิงที่อยู่ในช่วงมีประจำเดือน
-
|
|
สตรี.
|
มลินี
|
- ผู้หญิงที่อยู่ในช่วงมีประจำเดือน
-
|
|
สตรี.
|
มีมำสา
|
- การไตร่ตรองที่ลึกซึ้ง
- การตรวจสอบหาความจริง
- ชื่อปรัชญาระบบหนึ่งในจำนวน 6 ปรัชญาอินเดีย
-
|
|
สตรี.
|
มสิ
|
|
|
สตรี.
|
มลฺลิกา
|
- มะลิชนิดหนึ่ง
- แท่นตะเกียง
- ตะเกียง
-
|
|
สตรี.
|
มติ
|
- ความเข้าใจ
- ปัญญา
- ความฉลาด
- จิตใจ
- ความคิดเห็น
|
|
สตรี.
|
มถิ
|
|
|
สตรี.
|
มชฺชา
|
|
|
สตรี.
|
มชฺชูษา
|
|
|
สตรี.
|
มฺลานิ
|
- การทำให้เลือน
- การทำให้เหี่ยวแห้ง
- การเสื่อมสลาย
- ความเหน็ดเหนื่อย
-
|
|
สตรี.
|
เมฺลจฺฉภาษา
|
|
|
สตรี.
|
มมตา
|
- ความเห็นแก่ตัว
- ความรู้สึกเป็นเจ้าของ
- ความเย่อหยิ่ง
-
|
|
สตรี.
|
มโนวฤตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
มนฺตฺรวิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
มนฺทากินี
|
|
|
สตรี.
|
มนฺทุรา
|
- คอกม้า
- คอกสัตว์
- ที่นอน
- เสื่อนอน
- เตียง
|
|
สตรี.
|
มนีษา
|
- ความคิด
- การพิจารณา
- สติปัญญา
- ความปรารถนา
-
|
|
สตรี.
|
มนีษิกา
|
|
|
สตรี.
|
มนฺถา
|
|
|
สตรี.
|
มนฺถนี
|
|
|
สตรี.
|
มฐี
|
- กระท่อม
- กุฏิ
- ห้องเล็ก ๆ
- สถานที่อยู่ทางศาสนา
-
|
|
สตรี.
|
มรีจิกา
|
|
|
สตรี.
|
มลฺลกรีฑา
|
|
|
สตรี.
|
มสี
|
|
|
สตรี.
|
มสูริกา
|
|
|
สตรี.
|
มลฺลศาลา
|
|
|
สตรี.
|
มตลฺลิกา
|
- คำที่ใช้หลังคำนามเพื่อให้สิ่งใดก็ตามเป็นเลิศหรือยอดเยี่ยมที่สุดในกลุ่มประเภทของตนเอง
-
|
|
สตรี.
|
มุกฺตา
|
|
|
สตรี.
|
มูษา
|
|
|
สตรี.
|
มูรฺจฺฉา
|
|
|
สตรี.
|
มูรฺจฺฉนา
|
- การเป็นลม
- การเปลี่ยนเสียง (ดนตรี)
-
|
|
สตรี.
|
มุทฺ
|
- ความปีติยินดี
- ความสุข
- ความพึงพอใจ
-
|
|
สตรี.
|
มุทา
|
- ความปีติยินดี
- ความสุข
- ความพึงพอใจ
-
|
|
สตรี.
|
มุที
|
|
|
สตรี.
|
มุหุรฺภาษา
|
- การพูดซ้ำซาก
- การใช้คำที่มีความหมายเดียวกันโดยไม่จำเป็น
-
|
|
สตรี.
|
มุกฺติ
|
- การละทิ้ง
- การปลดปล่อย
- การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด
-
|
|
สตรี.
|
มูษิกา
|
|
|
สตรี.
|
มุทิตา
|
- ความสุข
- ความปีติยินดี
- ความรื่นเริง
-
|
|
ปุล.
สตรี.
|
มุษฺฏิ
|
- กำปั้น
- จำนวนหนึ่งกำมือ
- ด้ามจับ
-
|
|
สตรี.
|
มุทฺริกา
|
- ตราประทับ
- รอยตราประทับ
- สัญลักษณ์
- บัตรผ่าน
- เหรียญกษาปณ์
|
|
สตรี.
|
มุษฺฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
มูรฺติ
|
- ร่างกาย
- รูปร่าง
- วัตถุ
- การเสดงให้เห็นเป็นรูปร่าง
- รูปบูชา
|
|
สตรี.
|
มุมูรฺษา
|
- ความปรารถนาที่จะตาย
- สภาพที่กำลังจะตาย
-
|
|
สตรี.
|
มุมุกฺษา
|
- ความปรารถนาในเรื่องความหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด
-
|
|
สตรี.
|
มุทฺรา
|
- ตราประทับ
- รอยตราประทับ
- สัญลักษณ์
- บัตรผ่าน
- เหรียญกษาปณ์
|
|
สตรี.
|
มุขรี
|
- ชิ้นส่วนโลหะหรือวัสดุสังเคราะห์ที่พอดีกับปากของม้า ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบังเหียน
-
|
|
สตรี.
|
มุรชา
|
|
|
สตรี.
|
มุรลี
|
- เครื่องดนตรีประเภทเป่าหรือขลุ่ย
-
|
|
สตรี.
|
มธุมกฺษิกา
|
|
|
สตรี.
|
มธฺยมา
|
- ผู้หญิงที่ถึงวัยเริ่มเจริญพันธุ์
- นิ้วกลาง
-
|
|
สตรี.
|
มรฺยาทา
|
- ขอบเขต
- พรมแดน
- ตลิ่ง
- ชายฝั่ง
- มารยาท
|
|
สตรี.
|
นกฺตมุขา
|
|
|
สตรี.
|
นโภเรณุ
|
|
|
สตรี.
|
นกฺษตฺรวิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
นคฺนา
|
- หญิงเปลือย
- หญิงไร้ยางอาย
- เด็กหญิงก่อนมีประจำเดือน
- เด็กหญิงอายุต่ำกว่า 12 ปี
-
|
|
สตรี.
|
นคฺนกา
|
- หญิงเปลือย
- หญิงไร้ยางอาย
- เด็กหญิงก่อนมีประจำเดือน
- เด็กหญิงอายุต่ำกว่า 12 ปี
-
|
|
สตรี.
|
นฤติ
|
|
|
สตรี.
|
นกฺรา
|
|
|
สตรี.
|
เนา
|
|
|
สตรี.
|
เนากา
|
- เรือขนาดเล็ก
- เรือ (โดยทั่วไป)
-
|
|
สตรี.
|
นาฑี
|
- ลำ
- เถา
- ลำต้นหรือสายเถาวัลย์
- หลอดเลือดแดง
- ชีพจร
|
|
สตรี.
|
นาคี
|
|
|
สตรี.
|
นาคปํจมี
|
- ชื่อของเทศกาลในวันขึ้น 5 ค่ำ เดือนศราวณะ
-
|
|
สตรี.
|
นาครี
|
- อักษร
- เทวนาครี
- ผู้หญิงที่ฉลาดมี
-
|
|
ปุล.
สตรี.
|
นาภิ
|
|
|
สตรี.
|
นาฑิ
|
- ลำ
- เถา
- ลำต้นหรือสายเถาวัลย์
- หลอดเลือดแดง
- ชีพจร
|
|
สตรี.
|
นาฑิกา
|
- ลำ
- เถา
- ลำต้นหรือสายเถาวัลย์
- หลอดเลือดแดง
- ชีพจร
|
|
สตรี.
|
นาลิ
|
- ท่อหรือหลอดทั่วไปในร่างกาย
- สายบัว
- ช่วงเวลา 24 นาที
- คลอง
- ท่อระบายน้ำ
|
|
สตรี.
|
นาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
นาสิกา
|
|
|
สตรี.
|
นายิกา
|
- ภรรยา
- นายผู้หญิง
- นางเอกในบทกวี
-
|
|
สตรี.
|
นาลา
|
|
|
สตรี.
|
นาลี
|
- ท่อหรือหลอดทั่วไปในร่างกาย
- สายบัว
- ช่วงเวลา 24 นาที
- คลอง
- ท่อระบายน้ำ
|
|
สตรี.
|
นาลีกินี
|
|
|
สตรี.
|
นาลมฺพี
|
|
|
สตรี.
|
นามมุทฺรา
|
|
|
สตรี.
|
นานฺที
|
- ความปิติยินดี
- บทสรรเสริญเทพเจ้าก่อนประกอบพิธีกรรม โดยเฉพาะบทสรรเสริญก่อนการแสดงละคร
-
|
|
สตรี.
|
นาฏฺยศาลา
|
|
|
สตรี.
|
นาราจี
|
|
|
สตรี.
|
นาราจิกา
|
|
|
สตรี.
|
นารายณี
|
- ฉายาของพระแม่ลักษมี
- เทพีแห่งความมั่งคั่ง
-
|
|
สตรี.
|
นารี
|
|
|
สตรี.
|
นาสา
|
|
|
สตรี.
|
นที
|
|
|
สตรี.
|
ไนรฺฤตี
|
- พระแม่ทุรคา
- ทิศตะวันตกเฉียงใต้
-
|
|
สตรี.
|
เนตฺรี
|
- แม่น้ำ
- หลอดเลือดดำ
- พระลักษมี
- ผู้นำหญิง
-
|
|
สตรี.
|
เนมิ
|
|
|
สตรี.
|
เนมี
|
|
|
สตรี.
|
เนปาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
เศฺวตา
|
|
|
สตรี.
|
นคชา
|
|
|
สตรี.
|
นครี
|
|
|
สตรี.
|
นคฺนิกา
|
- หญิงเปลือย
- หญิงไร้ยางอาย
- เด็กหญิงก่อนมีประจำเดือน
- เด็กหญิงอายุต่ำกว่า 12 ปี
-
|
|
สตรี.
|
นีจคา
|
|
|
สตรี.
|
นีลิกา
|
|
|
สตรี.
|
นีติ
|
- คำแนะนำ
- ความประพฤติ
- การครอบครอง
- การสนับสนุน
- นโยบาย
|
|
สตรี.
|
นีวิ
|
- ปมของเสื้อผ้าที่สวมใส่
- กระโปรงหรือกระโปรงชั้นในชนิดหนึ่ง
- เงินทุน
- หุ้นส่วน
-
|
|
สตรี.
|
นีลี
|
- พืชสีคราม
- แมลงวันสีน้ำเงินชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
นลินี
|
|
|
สตรี.
|
นนฺทิก
|
- ความปิติยินดี
- ผู้กล่าวบทนำหรือบทไหว้ครูของละคร
- พาหนะของพระศิวะ
- โคนันทิ
-
|
|
สตรี.
|
นนฺทินี
|
|
|
สตรี.
|
นนฺทินี
|
- ลูกสาว
- น้องสาวหรือพี่สาวของสามี
-
|
|
สตรี.
|
นติ
|
|
|
สตรี.
|
ศฺวศฺรู
|
- แม่ยาย
- แม่ของสามี
- แม่ของภรรยา
-
|
|
สตรี.
|
นีวี
|
- ปมของเสื้อผ้าที่สวมใส่
- กระโปรงหรือกระโปรงชั้นในชนิดหนึ่ง
- เงินทุน
- หุ้นส่วน
-
|
|
สตรี.
|
นรฺมทา
|
- ชื่อของแม่น้ำที่อยู่ตอนกลางของอินเดีย
-
|
|
สตรี.
|
นมสฺกฤติ
|
|
|
สตรี.
|
นนฺทา
|
- ความปิติยินดี
- ความมั่งคั่ง
- น้องสาวหรือพี่สาวของสามี
-
|
|
สตรี.
|
นนนฺทฤ
|
|
|
สตรี.
|
นปฺตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
นฏฺยา
|
|
|
สตรี.
|
นฏานฺติกา
|
|
|
สตรี.
|
นฏี
|
- นักแสดงหญิง
- นางคณิกา
- โสเภณี
- เมียน้อย
-
|
|
สตรี.
|
นรี
|
|
|
สตรี.
|
นสฺ
|
|
|
สตรี.
|
นสา
|
|
|
สตรี.
|
นสฺยา
|
|
|
สตรี.
|
นตางฺคี
|
- หญิงที่มีแขนขาโค้ง
- ผู้หญิงทั่วไป
-
|
|
สตรี.
|
นรฺตกี
|
- นักเต้นหญิง
- นักแสดงหญิง
- ช้างเพศเมีย
- นกยูงตัวเมีย
-
|
|
สตรี.
|
นุติ
|
|
|
สตรี.
|
ศฺววฤตฺติ
|
- ชีวิตของสุนัข
- ความเป็นทาส
- การหาเลี้ยงชีพโดยการรับใช้ที่เหมือนทาส
-
|
|
สตรี.
|
นโวฒา
|
- ผู้หญิงที่แต่งงานใหม่
- เจ้าสาว
-
|
|
สตรี.
|
นวติ
|
|
|
สตรี.
|
นวติกา
|
- 90
- แปรงทาสี (มีขนแปรง 90 เส้น)
-
|
|
สตรี.
|
นวกาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
นวการิกา
|
|
|
สตรี.
|
นวมมาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
นวมี
|
- วันที่ 9 ของปักษ์จันทรคติ
-
|
|
สตรี.
|
นวมลฺลิกา
|
|
|
สตรี.
|
นฺยโคฺรธปริมณฺฑลา
|
|
|
สตรี.
|
นฺยายสาริณี
|
|
|
สตรี.
|
ขฏฺฏา
|
|
|
สตรี.
|
ขณฺฑกถา
|
- นิทานหรือเรื่องเล่าที่ถูกแบ่งออกเป็นตอน ๆ
-
|
|
สตรี.
|
ขณฺฑธารา
|
|
|
สตรี.
|
ขณฺฑศีลา
|
- ภรรยาที่ไม่บริสุทธิ์
- โสเภณี
- หญิงแพศยา
-
|
|
สตรี.
|
ขณฺฑศรฺกรา
|
- น้ำตาลที่มีขนาดเม็ดกลมใหญ่
-
|
|
สตรี.
|
ขณฺฑินี
|
|
|
สตรี.
|
ขณฺฑิตา
|
- หญิงผู้มีสามีหรือคนรักมีความผิดฐานนอกใจ
-
|
|
สตรี.
|
ทฺรากษฺา
|
|
|
สตรี.
|
โทฺรณี
|
- ถัง
- อ่างเก็บน้ำ
- มาตรวัดความจุ
- หุบเขา
-
|
|
สตรี.
|
โทฺรณิ
|
- ถัง
- อ่างเก็บน้ำ
- มาตรวัดความจุ
- หุบเขา
-
|
|
สตรี.
|
เทฺราปที
|
- นางเทราปทีผู้เป็นภรรยาของพี่น้องตระกูลปาณฑพในมหากาพย์มหาภารตะ
-
|
|
สตรี.
|
โสฺรตสฺวตี
|
|
|
สตรี.
|
ขานิ
|
|
|
สตรี.
|
ฆฺราติ
|
|
|
สตรี.
|
ขญฺชนิกา
|
- สายพันธุ์ของนกขนาดเล็กมีหางยาว
-
|
|
สตรี.
|
ขญฺชนา
|
- สายพันธุ์ของนกขนาดเล็กมีหางยาว
-
|
|
สตรี.
|
ทฺวาราวตี
|
|
|
สตรี.
|
ทวฺารปิณฺฑี
|
|
|
สตรี.
|
ทฺวารวตี
|
|
|
สตรี.
|
ขารฺวา
|
|
|
สตรี.
|
เขจรี
|
- สตรีที่เป็นครึ่งเทวดาที่สามารถลอยในอากาศได้
- ฉายาของพระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
เขลา
|
|
|
สตรี.
|
ขฑี
|
|
|
สตรี.
|
ขคงฺคา
|
|
|
สตรี.
|
ขโคลวิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
สฺรคฺธรา
|
|
|
สตรี.
|
สฺตฺรี
|
|
|
ปุล.
สตรี.
|
ขฏฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ขฑิกา
|
|
|
สตรี.
|
ขชิกา
|
|
|
สตรี.
|
ขรฺชิกา
|
- กามโรค
- โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
-
|
|
สตรี.
|
ขลิ
|
|
|
สตรี.
|
ขฏินี
|
|
|
สตรี.
|
ขลฺลิกา
|
|
|
สตรี.
|
สฺรชฺ
|
|
|
สตรี.
|
ขรฺชู
|
|
|
สตรี.
|
ขรฺชูรี
|
|
|
สตรี.
|
ขเลวาลี
|
- เสาเกียดที่ปักกลางลานนวดข้าว
-
|
|
สตรี.
|
ขเลธานี
|
- เสาเกียดที่ปักกลางลานนวดข้าว
-
|
|
ปุล.
สตรี.
|
ขลปู
|
|
|
สตรี.
|
ขนี
|
|
|
สตรี.
|
ขฏฺวา
|
- เตียง
- เตียงพับได้
- เก้าอี้นอน
- ที่นอน
- เปลญวน
|
|
สตรี.
|
ขรี
|
|
|
สตรี.
|
ขสฺตนี
|
|
|
สตรี.
|
ทฺรุณา
|
|
|
สตรี.
|
ทรฺณี
|
- เต่าขนาดเล็กหรือเต่าตัวเมีย
- ถัง
- ตะขาบ
-
|
|
สตรี.
|
ทฺรุหฺ
|
- การบาดเจ็บ
- ความเสียหาย
- อันตราย
-
|
|
สตรี.
|
ทรฺณิ
|
- เต่าขนาดเล็กหรือเต่าตัวเมีย
- ถัง
- ตะขาบ
-
|
|
สตรี.
|
สฺรุติ
|
- การไหล
- การไหลซึมออกมา
- กระแส
- ถนน
-
|
|
สตรี.
|
ทฺรุติ
|
|
|
สตรี.
|
รุปทาตฺมชา
|
|
|
สตรี.
|
สฺรวนฺตี
|
|
|
สตรี.
|
ขฺยาติ
|
- ชื่อ
- ชื่อเสียง
- กิตติศัพท์
- เกียรติคุณ
-
|
|
สตรี.
|
ปรฺษทฺ
|
|
|
สตรี.
|
ปฏฺโฏลิกา
|
- เอกสารสัญญา
- ความเห็นทางกฎหมายที่เขียนเป็นลายลักษณ์
-
|
|
สตรี.
|
ปฏฺฏารหา
|
|
|
สตรี.
|
ปฏฺฏเทวี
|
|
|
สตรี.
|
ปฏฺฏนี
|
|
|
สตรี.
|
ปณายา
|
|
|
สตรี.
|
ปรฺณกุฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปรฺณศาลา
|
- กุฏิ (ที่อยู่ของภิกษุในพุทธศาสนา)
- ดอกบัว
- พืชผัก
-
|
|
สตรี.
|
ปกฺษติ
|
- ขนนก
- วันแรกของปักษ์ทางจันทรคติ
-
|
|
สตรี.
|
ปกฺษปาลิ
|
- ปีก
- ประตูส่วนตัวหรือประตูหลัง
-
|
|
สตรี.
|
ปณฺฑา
|
- ปัญญา
- ความรอบรู้
- การเรียนรู้
-
|
|
สตรี.
|
ปณฺยภูมิ
|
|
|
สตรี.
|
ปณฺยองฺคนา
|
|
|
สตรี.
|
ปณฺยวิลาสินี
|
|
|
สตรี.
|
ปณฺยสฺตรี
|
|
|
สตรี.
|
ปณฺยวีถิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปณฺยวียี
|
|
|
สตรี.
|
ปณฺยโยษิตฺ
|
|
|
สตรี.
|
ปณฺยศาลา
|
|
|
สตรี.
|
ปทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ปฤจฺฉา
|
|
|
สตรี.
|
ปฤกฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ปฤษฺณิ
|
|
|
สตรี.
|
ปฤษฺณิ
|
|
|
สตรี.
|
ปฤษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ปฤถิวี
|
|
|
สตรี.
|
ปฤตฺ
|
|
|
สตรี.
|
ปฤถา
|
- ชื่อของนางกุนตีผู้เป็นภรรยาของท้าวปาณฑุ
-
|
|
สตรี.
|
ปฤถวี
|
|
|
สตรี.
|
ปารฺษทฺ
|
|
|
สตรี.
|
ปารฺษตี
|
|
|
สตรี.
|
ปำสุกุลี
|
|
|
สตรี.
|
ปำสุลา
|
|
|
สตรี.
|
ปญฺจโกฺรศี
|
|
|
สตรี.
|
ปาญฺจาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปาญฺจาลี
|
- นางเทราปตีผู้เป็นภรรยาของพี่น้องตระกูลปาณฑพ
- หุ่น
- รูปแบบเฉพาะขององค์ประกอบ
-
|
|
สตรี.
|
ปญฺจาลิกา
|
- ตุ๊กตา
- ลักษณะการร้องชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ปญฺจาศิกา
|
- กลุ่มที่มีจำนวน 50
- รวมบทร้อยกรองจำนวน 50 บท
-
|
|
สตรี.
|
ปญฺจาลี
|
- ตุ๊กตา
- หุ่น
- ลักษณะการร้องชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ปญฺจาศติ
|
|
|
สตรี.
|
ปาทฺ
|
|
|
สตรี.
|
ปาทาลินฺที
|
|
|
สตรี.
|
ปาทปาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปาทรถี
|
|
|
สตรี.
|
ปาทุกา
|
|
|
สตรี.
|
ปาทศาขา
|
|
|
สตรี.
|
ปญฺจทศี
|
- วันที่ 15 ของปักษ์จันทรคติ
-
|
|
สตรี.
|
เปารฺณมี
|
|
|
สตรี.
|
เปาตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
โปฏา
|
- กะเทยหรือผู้หญิงมีเครา
- หญิงรับใช้
- ทาสผู้หญิง
-
|
|
สตรี.
|
โปฏลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปญฺชี
|
|
|
สตรี.
|
ปารฺษฺณิ
|
- หญิงโง่หรือเลวทราม
- ฉายาของนางกุนตี
-
|
|
สตรี.
|
ปาณิคฤหีตา
|
|
|
สตรี.
|
ปาณิคฤหีตี
|
|
|
สตรี.
|
เปารฺณิมา
|
|
|
สตรี.
|
ปาลิ
|
|
|
สตรี.
|
ปาลิกา
|
- ปลายหู
- ขอบ
- หม้อน้ำ
- มีดตัดเนย
-
|
|
สตรี.
|
ปญฺจวึศติ
|
|
|
สตรี.
|
ปารฺถิวี
|
- ฉายานางสีดา (ผู้เป็นธิดาของพระแม่ธรณี), ฉายาของพระแม่ลักษมี
- เจ้าชาย
- นักรบ
|
|
สตรี.
|
ปาลี
|
|
|
สตรี.
|
ปญฺจมี
|
- วันที่ 5 ของปักษ์จันทรคติ
-
|
|
สตรี.
|
ปาปโยนิ
|
- สถานที่เกิดที่ไม่ดีหรือต่ำ
-
|
|
สตรี.
|
ปาฏี
|
|
|
สตรี.
|
ปาฏลา
|
- ดอกแตรนางฟ้า
- ฉายาของพระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
ปาฐศาลา
|
|
|
สตรี.
|
ปารสี
|
|
|
สตรี.
|
ปญฺจสูนา
|
- สิ่งของ 5 อย่างที่ทำร้ายสัตว์ให้ได้รับบาดเจ็บ (ได้แก่ เตาไฟ เขียง ไม้กวาด ครกกับสาก และหม้อน้ำ)
-
|
|
สตรี.
|
ปญฺจตา
|
- 5 เท่า
- องค์ประกอบ 5 อย่างรวมกัน
- ธาตุทั้ง 5 คือ ดิน ลม ไฟ น้ำ และอากาศ
- ความตาย
-
|
|
สตรี.
|
ปารฺวตี
|
- ฉายาของพระแม่ทุรคา (ผู้เป็นลูกสาวของภูเขาหิมาลัย)
- ฉายาของนางเทราปที
-
|
|
สตรี.
|
ปาศกฺรีฑา
|
- การเล่นการพนัน, การโยนลูกเต๋า
-
|
|
สตรี.
|
ปตฺรภงฺคี
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺรภงฺคิ
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺรณา
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺราวลิ
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺรเลขา
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺรนาฑิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺรปาล
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺรปุษฺปา
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺรเรขา
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺรสูจิ
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺรวลฺลิ
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺรวลฺลรี
|
|
|
สตรี.
|
ปทวิ
|
|
|
สตรี.
|
ปทวี
|
|
|
สตรี.
|
เปษณิ
|
|
|
สตรี.
|
เปฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
ไปศาจี
|
- ภาษาไปศาจี (เป็นชื่อเรียกภาษาของคนชั้นต่ำหรือภาษาที่ผิดเพี้ยนจากภาษามาตรฐานอย่างสันสกฤต)
-
|
|
สตรี.
|
ปกฺติ
|
- การปรุงอาหารให้สุก
- การย่อยอาหาร
-
|
|
สตรี.
|
ปฏฺฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปณิ
|
|
|
สตรี.
|
ปกฺษิณี
|
- นกตัวเมีย
- วันพระจันทร์เต็มดวง
-
|
|
สตรี.
|
ปกฺษิศาลา
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺติ
|
- หน่วยที่เล็กที่สุดของกองทัพ ประกอบด้วยรถ 1 คัน ช้าง 1 เชือก ทหารม้า 3 คน และทหารราบ 5 คน
-
|
|
สตรี.
|
ปญฺชิ
|
- บัญชี
- การบันทึกรายรับรายจ่าย
-
|
|
สตรี.
|
ปญฺชิกา
|
- บัญชี
- บัญชีของพระยม (ที่บันทึกการกระทำของมนุษย์)
-
|
|
สตรี.
|
ปตฺติสํหติ
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺริกา
|
- ใบไม้
- จดหมาย
- ต่างหูชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ปีฑา
|
- ความทุกข์
- ความเจ็บปวด
- ความเสียหาย
- ความรุนแรง
- ความสงสาร
|
|
สตรี.
|
ปศฺจิมา
|
|
|
สตรี.
|
ปีฐิกา
|
- ตั่ง
- ม้านั่ง
- ฐานรอง
- ส่วนของหนังสือ
-
|
|
สตรี.
|
ปทฺธติ
|
|
|
สตรี.
|
ปีติ
|
- การดื่ม
- โรงเตี๊ยม
- งวงของช้าง
-
|
|
สตรี.
|
ปทฺมินี
|
|
|
สตรี.
|
ปฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ปฐิ
|
|
|
สตรี.
|
ปริภาษา
|
|
|
สตรี.
|
ปริษทฺ
|
- การชุมนุม
- การพบปะ
- การรวมกลุ่ม
-
|
|
สตรี.
|
ปริณติ
|
- การก้ม
- การเปลี่ยนแปลง
- ความสุกงอม
- ผลลัพธ์
-
|
|
สตรี.
|
ปริชฺญปฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ปริกฺรานฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ปริปฺราปฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ปริพาธา
|
- ความทุกข์ยาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความยากลำบาก
-
|
|
สตรี.
|
ปริจรฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ปริหาณิ
|
- การลดลง
- การสูญเสีย
- ข้อบกพร่อง
-
|
|
สตรี.
|
ปริหานิ
|
- การลดลง
- การสูญเสีย
- ข้อบกพร่อง
-
|
|
สตรี.
|
ปริษฺกฺริยา
|
|
|
สตรี.
|
ปริกฺริยา
|
- การล้อมรอบด้วยกำแพงหรือคูน้ำ
- ความสนใจ
- การเข้าร่วม
- การฝึกฝน
-
|
|
สตรี.
|
ปริศฺรานฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ปริจฺฉตฺติ
|
- ความหมายที่ถูกต้อง
- การกำหนด
- การวัด
- การแบ่งแยก
-
|
|
สตรี.
|
ปริจิติ
|
|
|
สตรี.
|
ปริวฺรชฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ปริมิติ
|
|
|
สตรี.
|
ปริกลฺปนา
|
|
|
สตรี.
|
ปริกถา
|
- เรื่องราวหรือเรื่องเล่าทางศาสนา
- นิยาย
- เทพนิยาย
-
|
|
สตรี.
|
ปริขา
|
- คูเมือง
- คูน้ำรอบเมืองหรือป้อมปราการ
-
|
|
สตรี.
|
ปริขฺยาติ
|
|
|
สตรี.
|
ปริปาฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ปริปาฏี
|
|
|
สตรี.
|
ปริปูรฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ปริรกฺษา
|
- การเก็บรักษา
- การปกป้อง
- การคุ้มครอง
-
|
|
สตรี.
|
ปริรถฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ปริสํขฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ปริสมาปฺติ
|
- การทำให้เสร็จ
- จุดสิ้นสุด
- การสรุป
-
|
|
สตรี.
|
ปริตุษฺฏิ
|
- ความพึงพอใจอย่างยิ่ง
- ความดีใจ
-
|
|
สตรี.
|
ปริวฤตฺติ
|
- การหมุนรอบ
- การเปลี่ยนแปลง
- การสิ้นสุด
-
|
|
สตรี.
|
ปริวฤทฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
ปริเวทนา
|
|
|
สตรี.
|
ปริศุทฺธิ
|
- การทำให้บริสุทธิ์
- การพ้นผิด
- ความถูกต้อง
-
|
|
สตรี.
|
ปลฺลิ
|
|
|
สตรี.
|
ปลฺลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปทฺธตี
|
|
|
สตรี.
|
ปติวฺรตา
|
- ภรรยาผู้ซื่อสัตย์ต่อสามี (ปดิวรัดา)
-
|
|
สตรี.
|
ปีวา
|
|
|
สตรี.
|
ปีวรี
|
|
|
สตรี.
|
ปชฺฌฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺลีหา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺลุติ
|
- น้ำท่วม
- การกระโดด
- การยืดเสียงสระ
-
|
|
สตรี.
|
ปทฺว
|
|
|
สตรี.
|
ปทฺมา
|
|
|
สตรี.
|
ปทฺมาลยา
|
|
|
สตรี.
|
ปทฺมาวตี
|
|
|
สตรี.
|
ปฏาลุกา
|
|
|
สตรี.
|
ปฏี
|
|
|
สตรี.
|
ปฏกุฏี
|
- เต็นท์ (ที่ทำด้วยขนสัตว์หรือผ้าสักหลาด)
-
|
|
สตรี.
|
ปรภฤตา
|
|
|
สตรี.
|
ปรา
|
- ต่างประเทศ
- ต้นไม้ชนิดหนึ่ง
- มาตรวัดเวลา
-
|
|
สตรี.
|
ปราณ
|
|
|
สตรี.
|
ปโรษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ปโรปการ
|
- การช่วยเหลือผู้อื่น
- ความเมตตากรุณา
- การกุศล
-
|
|
สตรี.
|
ปราน
|
|
|
สตรี.
|
ปรีกฺษา
|
- การตรวจสอบ
- การสืบสวน
- การสอบ
-
|
|
สตรี.
|
ปรีษฺฏิ
|
- การวิจัย
- การสืบสวน
- การบริการ
- ความเคารพ
- การบูชา
|
|
สตรี.
|
ปรีปฺสา
|
- ความปรารถนาที่จะได้รับ
- ความเร่งรีบ
-
|
|
สตรี.
|
ปรมคติ
|
|
|
สตรี.
|
ปรมฺปรา
|
- การสืบต่อ
- การสืบทอด
- ประเพณี
- เชื้อสาย
- การฆ่า
|
|
สตรี.
|
ปรปูรฺวา
|
|
|
สตรี.
|
ปฺสา
|
|
|
สตรี.
|
ปลฺลี
|
|
|
สตรี.
|
ปตากินี
|
|
|
สตรี.
|
ปตากา
|
|
|
สตรี.
|
ปตงฺคิกา
|
- นกตัวเล็ก
- ผึ้งตัวเล็กชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ปตญฺจิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปตฺนี
|
|
|
สตรี.
|
ปุษฺกริณี
|
- ช้างตัวเมีย
- สระบัว
- ทะเลสาบหรือสระโดยทั่วไป
-
|
|
สตรี.
|
ปุษฺปวาฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปุษฺปวตี
|
|
|
สตรี.
|
ปูรฺณมาส
|
- คืนพระจันทร์เต็มดวง
- พิธีที่จัดในคืนพระจันทร์เต็มดวง
-
|
|
สตรี.
|
ปุณฺยภูมิ
|
|
|
สตรี.
|
ปุํศฺจลี
|
|
|
สตรี.
|
ปุจฺฉฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ปุจฺฉฏี
|
|
|
สตรี.
|
ปุเตฺรษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ปุตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
ปุตฺรกา
|
|
|
สตรี.
|
ปุรุษตา
|
|
|
สตรี.
|
ปูรฺณิมา
|
|
|
สตรี.
|
ปูรฺณิมาสี
|
|
|
สตรี.
|
ปุญฺชิ
|
|
|
สตรี.
|
ปุษฺฏิ
|
- การบำรุงรักษา
- การเจริญเติบโต
- การเพิ่มขึ้น
- ความแข็งแรง
- ความสมบูรณ์
|
|
สตรี.
|
ปุริ
|
|
|
สตรี.
|
ปูติ
|
- ความบริสุทธิ์
- การทำให้บริสุทธิ์
- ความเหม็น
-
|
|
สตรี.
|
ปูรฺติ
|
- การทำให้เต็ม
- การทำสำเร็จ
- การบรรลุเป้าหมาย
- รางวัล
- ความพอใจ
|
|
สตรี.
|
ปูชา
|
|
|
สตรี.
|
ปุนรฺภู
|
- หญิงหม้ายพรหมจรรย์ที่แต่งงานใหม่
-
|
|
สตรี.
|
ปุนราวฤตฺติ
|
- การกลับคืน
- การปรากฏตัวอีกครั้ง
- การทำซ้ำ
-
|
|
สตรี.
|
ปุฏกินี
|
|
|
สตรี.
|
ปุรฺ
|
|
|
สตรี.
|
ปุรา
|
- ฐานที่มั่น
- ป้อมปราการ
- น้ำหอมชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ปุโรธิกา
|
|
|
สตรี.
|
ปุรากถา
|
- เรื่องราวในอดีต
- ตำนานเก่าแก่
-
|
|
สตรี.
|
ปุรี
|
|
|
สตรี.
|
ปุรสฺกฺริยา
|
- การเตรียมพิธีบูชา
- การแสดงความเคารพ
-
|
|
สตรี.
|
ปูตนา
|
- ชื่อนางปีศาจหรือรากษสีที่ถูกพระกฤษณะสังหาร
-
|
|
สตรี.
|
ปูรฺต
|
- ที่เต็มไปด้วย
- ที่สำเร็จ
- ที่ปกปิด
- ที่ปกป้อง
-
|
|
สตรี.
|
ปูรฺวโกฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ปูรฺวมีมำสา
|
- ชื่อสำนักปรัชญาในศาสนาฮินดูที่กล่าวถึงพระเวทตอนต้น
-
|
|
สตรี.
|
ปูรฺวสํธฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ปวากา
|
|
|
สตรี.
|
ปรฺวณี
|
- คืนพระจันทร์เต็มดวง
- เทศกาล
-
|
|
สตรี.
|
ปรฺวตชา
|
|
|
สตรี.
|
ปถกลฺปนา
|
|
|
สตรี.
|
ปโยษฺณี
|
|
|
สตรี.
|
ปรฺยาปฺติ
|
- การได้รับ
- ความสมบูรณ์
- ความพอเพียง
- ความพอใจ
-
|
|
สตรี.
|
ปรฺเยษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ปยสฺวินี
|
- แม่วัว
- แม่แพะ
- ชื่อของแม่น้ำ
-
|
|
สตรี.
|
ปรฺยนฺติกา
|
|
|
สตรี.
|
ปรฺยวสฺถา
|
|
|
สตรี.
|
ปยสฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ปรฺยุปฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ปรฺศุกา
|
|
|
สตรี.
|
ปศุกฺริยา
|
- การบูชายัญ
- การสังวาส (เหมือนสัตว์)
-
|
|
สตรี.
|
ปศฺยนฺตี
|
|
|
สตรี.
|
ฏงฺกศาลา
|
|
|
สตรี.
|
ฐาลินี
|
|
|
สตรี.
|
ฏีกา
|
- คำอธิบาย
- ความเห็น
- คำวิจารณ์
- คำบรรยาย
-
|
|
สตรี.
|
รกฺษา
|
- การดำรงรักษา
- การปกป้องดูแล
- การคุ้มครอง
- ยาม
- คนอารักขา
|
|
สตรี.
|
รณฺฑา
|
|
|
สตรี.
|
รํหติ
|
- ความเร็ว
- อัตราความเร็ว
- ฝีเท้า
-
|
|
สตรี.
|
รงฺคภูมิ
|
|
|
สตรี.
|
รงฺคศาลา
|
|
|
สตรี.
|
รชฺชุ
|
|
|
สตรี.
|
รากฺษสี
|
|
|
สตรี.
|
ราชฺญี
|
|
|
สตรี.
|
ราตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
โรจนา
|
- ท้องฟ้าที่แจ่มใส
- สีเหลืองประเภทหนึ่ง
- ดอกบัวสีแดง
-
|
|
สตรี.
|
โรทสี
|
|
|
สตรี.
|
โรจิสฺ
|
- ความสว่าง
- แสงสว่าง
- ความโชติช่วง
-
|
|
สตรี.
|
โรหิณี
|
- แม่วัวสีแดง
- แม่วัว
- ผู้หญิงสาวที่เพิ่งจะมีประจำเดือน
- ฟ้าแลบ
- มารดาของพลราม
|
|
สตรี.
|
ราตฺริ
|
|
|
สตรี.
|
ราคิณี
|
- การปรับเปลี่ยนระดับเสียงของเสียงดนตรี
-
|
|
สตรี.
|
ราทฺธิ
|
- การบรรลุเป้าหมาย
- ความสำเร็จ
-
|
|
สตรี.
|
ราชิ
|
|
|
สตรี.
|
ราชี
|
|
|
สตรี.
|
ราชนีติ
|
|
|
สตรี.
|
ราชธานี
|
|
|
สตรี.
|
รากา
|
|
|
สตรี.
|
รามา
|
- ผู้หญิงสวย
- หญิงสาวที่มีเสน่ห์
- ผู้หญิง
-
|
|
สตรี.
|
ราธา
|
|
|
สตรี.
|
รจนา
|
- การจัดเตรียม
- การจัดการ
- การปฏิบัติ
- การประพันธ์
-
|
|
สตรี.
|
ไร
|
|
|
สตรี.
|
เรขา
|
- เส้น
- แถว
- แนว
- ความสมบูรณ์
- การวาดภาพ
|
|
สตรี.
|
เรวา
|
|
|
สตรี.
|
รกฺติ
|
- ความมีเสน่ห์
- ความรักใคร่
- ความศรัทธา
-
|
|
สตรี.
|
รีติ
|
- วิธีการ
- วิถีทาง
- เส้นทาง
- แม่น้ำ
- เส้นแบ่งเขต
|
|
สตรี.
|
รติ
|
- ความสุข
- ความปีติยินดี
- ความศรัทธา
- ความรัก
- เทพธิดาแห่งความรัก
|
|
สตรี.
|
รชนิ
|
|
|
สตรี.
|
รชกา
|
- คนซักเสื้อผ้าที่เป็นผู้หญิง
-
|
|
สตรี.
|
รชกี
|
- คนซักเสื้อผ้าที่เป็นผู้หญิง
-
|
|
สตรี.
|
รชนี
|
|
|
สตรี.
|
รชสฺวลา
|
- ผู้หญิงที่กำลังมีประจำเดือน
-
|
|
สตรี.
|
รมฺภา
|
- ต้นกล้วยชนิดหนึ่ง
- ชื่อของนางอัปสร
-
|
|
สตรี.
|
รมณา
|
|
|
สตรี.
|
รมณี
|
|
|
สตรี.
|
รมา
|
- ฉายาของพระแม่ลักษมี
- ภรรยา
- โชคดี
-
|
|
สตรี.
|
รสา
|
|
|
สตรี.
|
รสนา
|
|
|
สตรี.
|
รตฺนสู
|
|
|
สตรี.
|
รถฺปา
|
- ถนนสำหรับรถม้า
- ทางหลวง
- ทางหลัก
-
|
|
สตรี.
|
รศนา
|
- เชือก
- เข็มขัด
- สายคาดเอว
- ลิ้น
-
|
|
สตรี.
|
สภา
|
- กลุ่มคน
- สภา
- การประชุม
- ที่ประชุมสภา
- การสังคม
|
|
สตรี.
|
สฺผีติ
|
- การขยาย
- การเพิ่มขึ้น
- ความอุดมสมบูรณ์
-
|
|
สตรี.
|
สผรี
|
- ปลาขนาดเล็กที่มีประกายแสงแวววาว
-
|
|
สตรี.
|
สฺผุลิงฺคา
|
|
|
สตรี.
|
สฺผูรฺติ
|
- การสั่น
- การแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัด
- อัจฉริยะภาพทางบทกวี
- แรงบันดาลใจ
-
|
|
สตรี.
|
สฤณิกา
|
|
|
สตรี.
|
สฤษฺฏิ
|
- การสร้าง
- ธรรมชาติ
- การสร้างโลก
-
|
|
สตรี.
|
สฤติ
|
|
|
สตรี.
|
สฤกฺวณี
|
|
|
สตรี.
|
สฤกฺกณี
|
|
|
สตรี.
|
สํฆฏฺฏนา
|
- การสัมผัสใกล้ชิด
- การยึดมั่น
- การประชุม
- การร่วมกัน
- การรวมกัน
|
|
สตรี.
|
สํชฺญา
|
- ความมีสติ
- การบอกใบ้
- เครื่องหมาย
- สัญลักษณ์
- การแต่งตัว
|
|
สตรี.
|
สํคฺรหณี
|
|
|
สตรี.
|
สํกรานฺติ
|
- การรวมกัน
- การบรรจบกัน
- ทางผ่าน
- การผ่าน
- การผ่านจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่ง
|
|
สตรี.
|
สํคีติ
|
- การแสดงดนตรี
- ความกลมกลืนกัน
- การประสานเสียง
- การสนทนา
-
|
|
สตรี.
|
สํคติ
|
- การรวมกัน
- สังคม
- การเชื่อมต่อ
- ความรู้
- ความสัมพันธ์
|
|
สตรี.
|
สํคีตศาลา
|
|
|
สตรี.
|
สํหติ
|
- การรวมกัน
- ความใหญ่โต
- ความมั่นคง
-
|
|
สตรี.
|
สํจิติ
|
- การสะสม
- การเก็บรวบรวม
- การกองรวมกัน
-
|
|
สตรี.
|
สํหิตา
|
|
|
สตรี.
|
สํนิธิ
|
- ความใกล้ชิด
- การปรากฏ
- การดำรงอยู่
- การมีอยู่
-
|
|
สตรี.
|
สํสิทฺธิ
|
- การทำให้สมบูรณ์
- การทำให้เสร็จ
- ความสำเร็จที่สมบูรณ์
-
|
|
สตรี.
|
สํสฺถิติ
|
- การอยู่ด้วยกัน
- การเก็บสะสม
- สถานที่อยู่อาศัย
- ความใกล้ชิด
-
|
|
สตรี.
|
สํวิทฺ
|
- ความรู้
- ความเข้าใจ
- สติปัญญา
- ข้อตกลง
- สงคราม
|
|
สตรี.
|
สํวิตฺติ
|
- ความเข้าใจ
- การรับรู้
- สติปัญญา
- ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
-
|
|
สตรี.
|
สํวิธา
|
- การจัดการ
- การจัดเตรียม
- แผนการ
-
|
|
สตรี.
|
สํชีวนี
|
- ยาอายุวัฒนะชนิดหนึ่ง
- พืชชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
สํกลนา
|
- การกองรวมกัน
- การบวก (คณิตศาสตร์)
- การเชื่อมต่อหรือการเพิ่ม
- การติดต่อ
-
|
|
สตรี.
|
สํขฺยา
|
- ตัวเลข
- การคำนวณ
- ยอดรวม
- ความสำนึก
- สติปัญญา
|
|
สตรี.
|
สํสฤษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
สํสฤติ
|
|
|
สตรี.
|
สํสทฺ
|
- การประชุม
- การชุมนุม
- การพบปะกัน
-
|
|
สตรี.
|
สํสฺมฤติ
|
|
|
สตรี.
|
สํสฺถา
|
|
|
สตรี.
|
สํตติ
|
- เชื้อสาย
- วงศ์ตระกูล
- ลูกหลาน
- ความต่อเนื่อง
- ปริมาณมาก
|
|
สตรี.
|
สํหฤติ
|
- การหดตัว
- การบีบ
- การสูญเสีย
- การทำลาย
- ภาวะที่ถูกทำลาย
|
|
สตรี.
|
สํเวทนา
|
|
|
สตรี.
|
สํธา
|
- การรวมกัน
- การตกลง
- ข้อตกลง
- สัญญา
- ขอบเขต
|
|
สตรี.
|
สํธฺยา
|
- ช่วงเวลาหลังจากพระอาทิตย์ตกหรือก่อนฟ้าสางของตอนเย็นหรือตอนเช้า
- การทำสมาธิ
- ขอบเขต
-
|
|
สตรี.
|
สํยาตฺรา
|
- การเดินทางทางทะเล
- การเดินทางด้วยกัน (ทางทะเล)
-
|
|
ปุล.
สตรี.
|
สํยตฺ
|
|
|
สตรี.
|
สํศีติ
|
|
|
สตรี.
|
สํศุทฺธิ
|
- การทำให้บริสุทธิ์อย่างสมบูรณ์
- การชำระล้าง
-
|
|
สตรี.
|
สชฺชา
|
- เสื้อเกราะ
- เครื่องแต่งกาย
- เครื่องตกแต่ง
- อุปกรณ์เครื่องมือ
-
|
|
สตรี.
|
สตฺตา
|
- การมีอยู่
- การดำรงอยู่
- ความจริง
-
|
|
สตรี.
|
เสาภาคฺยวตี
|
- หญิงแต่งงานแล้วที่สามียังอยู่
-
|
|
สตรี.
|
เสาทามนี
|
|
|
สตรี.
|
เสารเภยี
|
|
|
สตรี.
|
เสารภี
|
|
|
สตรี.
|
สาริกา
|
|
|
สตรี.
|
สาติ
|
- ของขวัญ
- การได้รับ
- การสิ้นสุดลง
- จุดจบ
-
|
|
สตรี.
|
สาวิตฺรี
|
- พระแม่ปารวตี
- บทสวดสรรเสริญในคัมภีร์ฤคเวท
- ลำแสง
- รัศมี
-
|
|
สตรี.
|
สาวิกา
|
|
|
สตรี.
|
สามคฺรี
|
- จำนวนทั้งหมด
- สิ่งทั้งปวง
- อุปกรณ์
- วัสดุ
- เครื่องมือ
|
|
สตรี.
|
สามีจี
|
- คำสดุดี
- คำสรรเสริญ
- ความสุภาพ
-
|
|
สตรี.
|
สารณี
|
|
|
สตรี.
|
สารณิ
|
|
|
สตรี.
|
สาธนา
|
|
|
สตรี.
|
สาธฺวี
|
- หญิงพรหมจารี
- ภรรยาผู้ซื่อสัตย์
-
|
|
สตรี.
|
เสจนี
|
|
|
สตรี.
|
เสนา
|
|
|
สตรี.
|
ไสรนฺธฺรี
|
|
|
สตรี.
|
เสวา
|
- การรับใช้
- การให้บริการ
- การบูชา
- การใช้
-
|
|
สตรี.
|
เสวนี
|
|
|
สตรี.
|
สหา
|
|
|
สตรี.
|
สหายตา
|
- ความเป็นเพื่อน
- การช่วยเหลือ
-
|
|
สตรี.
|
สหธรฺมิณี
|
|
|
สตรี.
|
สกฺติ
|
- การติดต่อ
- การสัมผัส
- การผูกติด
- การยึดติด
-
|
|
สตรี.
|
สีมา
|
- เขตแดน
- หลักเขต
- ชายฝั่ง
- จุดสูงสุด
-
|
|
สตรี.
|
สีมนฺตินี
|
|
|
สตรี.
|
สมิติ
|
- การชุมนุม
- การรวมกัน
- สงคราม
- ฝูง
- หมู่
|
|
สตรี.
|
สีมนฺ
|
|
|
สตรี.
|
สมิตฺ
|
|
|
สตรี.
|
สมิธฺ
|
- เชื้อเพลิงสำหรับไฟศักดิ์สิทธิ์
- การจุดไฟ
-
|
|
สตรี.
|
สปณฺฑี
|
|
|
สตรี.
|
สริตฺ
|
|
|
สตรี.
|
สีวนี
|
|
|
สตรี.
|
สโลกตา
|
- การอยู่ในโลกเดียวกันกับ
- การอยู่อาศัยในสวรรค์ชั้นเดียวกันกับเทพหรือเทวดาที่มีลักษณะเป็นบุคคล
-
|
|
สตรี.
|
สมฺภาษา
|
|
|
สตรี.
|
สมฺภาวนา
|
- การนำมาใกล้
- การสักการะ
- การอนุมาน
- ความเป็นไปได้
- ความเคารพ
|
|
สตรี.
|
สมฺภูติ
|
- การรวมกัน
- แหล่งกำเนิด
- การเกิด
- การเจริญเติบโต
- ความเหมาะสม
|
|
สตรี.
|
สมฺภวา
|
|
|
สตรี.
|
สมชฺญา
|
|
|
สตรี.
|
สมฤทฺธิ
|
- ความเจริญรุ่งเรือง
- ความอุดมสมบูรณ์
-
|
|
สตรี.
|
สฺมฤติ
|
- ความจำ
- หนังสือกฎหมาย
- สิ่งที่ถูกส่งต่อมาโดยผู้ประพันธ์ที่เป็นมนุษย์ (ตรงข้ามกับ “ศฺรุติ”)
-
|
|
สตรี.
|
สมา
|
|
|
สตรี.
|
สมาชฺญา
|
- ชื่อเสียง
- กิตติศัพท์
- เกียรติยศ
-
|
|
สตรี.
|
สมาปฺติ
|
- การจบ
- การสิ้นสุด
- ความสมบูรณ์
- การประนีประนอม
- การปรองดอง
|
|
สตรี.
|
สมาปตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
สมฺปฺรธารณา
|
- เจตนา
- การตกลงใจ
- การตัดสินใจ
-
|
|
สตรี.
|
สมฺพุทฺธิ
|
- ความรู้หรือการหยั่งรู้ที่สมบูรณ์
- การกที่เป็นนามเรียกขาน
-
|
|
สตรี.
|
สมีกฺษา
|
- การตรวจสอบ
- การค้นคว้า
- การสืบสวน
- ลักษณะที่สำคัญ
-
|
|
สตรี.
|
สมีหา
|
|
|
สตรี.
|
สมษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
สมฺมารฺชนี
|
|
|
สตรี.
|
สมฺมติ
|
- ความสอดคล้องกัน
- การเห็นพ้องกัน
- การเห็นด้วย
- ความเป็นมิตร
-
|
|
สตรี.
|
สมฺปา
|
|
|
สตรี.
|
สมฺปทฺ
|
- ความมั่งคั่ง
- ทรัพย์สมบัติ
- ความเจริญรุ่งเรือง
- ความเป็นเลิศ
-
|
|
สตรี.
|
สมฺปตฺติ
|
- ความเจริญรุ่งเรือง
- ความร่ำรวย
-
|
|
สตรี.
|
สฺมรณปทวี
|
|
|
สตรี.
|
สมตา
|
- ความเหมือนกัน
- ความเท่าเทียมกัน
- ความสมมาตร
- ความสมบูรณ์
-
|
|
สตรี.
|
สมุตฺปตฺติ
|
- การผลิต
- การปรากฏขึ้น
- การเกิด
- แหล่งกำเนิด
-
|
|
สตรี.
|
สมุนฺนติ
|
- การยกให้สูงขึ้น
- การเพิ่มขึ้น
- ความเจริญ
- ความสำเร็จ
- ความสูงส่ง
|
|
สตรี.
|
สฺนุษา
|
|
|
สตรี.
|
สขี
|
|
|
สตรี.
|
สฺปฤหา
|
|
|
สตรี.
|
สปีติ
|
|
|
สตรี.
|
สปตฺนี
|
- หญิงที่มีสามีคนเดียวกันร่วมกับหญิงคนอื่น
-
|
|
สตรี.
|
สฺปรฺธา
|
|
|
สตรี.
|
สปรฺยา
|
|
|
สตรี.
|
สฏา
|
- มุ่นมวยผมหรือผมที่ขมวดเกล้าขึ้นสูงของฤาษีหรือดาบส
- แผงขนบนคอสัตว์
-
|
|
สตรี.
|
สรฆา
|
|
|
สตรี.
|
สโรชินี
|
|
|
สตรี.
|
สรณิ
|
- ทางเดิน
- การจัดการ
- วิธีการ
- เส้นตรง
-
|
|
สตรี.
|
สรมา
|
- สุนัขตัวเมียของเทพเจ้า
- สุนัขตัวเมีย
-
|
|
สตรี.
|
สรสฺวตี
|
- เทพีแห่งความรู้หรือการศึกษา
-
|
|
สตรี.
|
สฺตฤติ
|
- การกระจายไปทั่ว
- การทำให้แพร่กระจาย
- การปกคลุม
- การห่อหุ้ม
- การขยายออก
|
|
สตรี.
|
สตี
|
- ภรรยาที่ดีหรือที่ซื่อสัตย์
- ชื่อของพระเม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
สฺตุติ
|
|
|
สตรี.
|
สตฺยา
|
- ความสัตย์จริง
- ความซื่อตรง
- ความไว้วางใจ
-
|
|
สตรี.
|
สุภคา
|
|
|
สตรี.
|
สุษมา
|
|
|
สตรี.
|
สุษุปฺติ
|
- อวิทยา
- การหลับลึกหรือการหลับสนิท
-
|
|
สตรี.
|
สุษุมฺณา
|
|
|
สตรี.
|
สุปฺรติษฺฐา
|
|
|
สตรี.
|
สุภฺรู
|
- คิ้วที่งดงาม
- หญิงที่น่ารัก
-
|
|
สตรี.
|
สูจี
|
- เข็ม
- จุดปลายแหลม
- กระบวนทัพประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
สูจนา
|
- การบ่งชี้
- ข่าวสาร
- การสอดแนม
- การสอน
- การบอกใบ้
|
|
สตรี.
|
สูทศาลา
|
|
|
สตรี.
|
สูจิ
|
- เข็ม
- จุดปลายแหลม
- กระบวนทัพประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
สูจิกา
|
|
|
สตรี.
|
สูติ
|
- การเกิด
- บุตร
- ลูกหลาน
- แหล่งกำเนิด
-
|
|
สตรี.
|
สูติกา
|
|
|
สตรี.
|
สุตินี
|
|
|
สตรี.
|
สุปฺติ
|
- การนอนหลับ
- ความง่วง
- อาการสัปหงก
-
|
|
สตรี.
|
สุชนตา
|
- ความดี
- ความเมตตากรุณา
- คุณธรรม
-
|
|
สตรี.
นปุง.
|
สุมนสฺ
|
|
|
สตรี.
|
สุมธฺยมา
|
|
|
สตรี.
|
สูนา
|
|
|
สตรี.
|
สุนฺทรี
|
|
|
สตรี.
|
สูนู
|
|
|
สตรี.
|
สุรงฺคา
|
- ทางเดินที่อยู่ใต้ดิน
- ช่องที่ถูกขุดในกำแพงหรือที่ถูกสร้างไว้ใต้ดิน
-
|
|
สตรี.
|
สุรา
|
|
|
สตรี.
|
สุรภิ
|
|
|
สตรี.
|
สุตา
|
|
|
สตรี.
|
สุวาสินี
|
- ผู้หญิงยังไม่ได้แต่งงานหรือแต่งงานแล้วที่อาศัยอยู่ในบ้านของบิดา
- คำสุภาพสำหรับหญิงที่น่านับถือผู้ซึ่งสามียังมีชีวิตอยู่
-
|
|
สตรี.
|
สุธา
|
- อาหารทิพย์
- น้ำอมฤต
- น้ำ
- ปูนขาวทาผนัง
-
|
|
สตรี.
|
สฺวาหา
|
|
|
สตรี.
|
สฺวามินี
|
- นายหญิง
- เจ้าของที่เป็นผู้หญิง
-
|
|
สตรี.
|
สฺวาติ
|
- ชื่อกลุ่มดาวนักษัตรในลำดับที่ 15
-
|
|
สตรี.
|
สฺวาตี
|
- ชื่อกลุ่มดาวนักษัตรในลำดับที่ 15
-
|
|
สตรี.
|
ไสฺวริณี
|
- หญิงที่นอกใจสามี
- หญิงที่ไม่บริสุทธิ์
- หญิงแพศยา
-
|
|
สตรี.
|
ไสฺวรตา
|
- ความเอาแต่ใจตนเอง
- ความเป็นอิสระ
-
|
|
สตรี.
|
สฺวีกฤติ
|
- การยอมรับ
- การเข้าครอบครอง
- การจัดสรรไว้
-
|
|
สตรี.
|
สฺวสฺเรยี
|
- หลานสาว
- ลูกสาวของพี่สาวหรือน้องสาว
-
|
|
สตรี.
|
สฺวสฺรียา
|
- หลานสาว
- ลูกสาวของพี่สาวหรือน้องสาว
-
|
|
สตรี.
|
สรฺวรี
|
|
|
สตรี.
|
สรฺวสหา
|
|
|
สตรี.
|
สรฺวโตภทฺรา
|
|
|
สตรี.
|
สฺวสฤ
|
|
|
สตรี.
|
สฺวรฺเวศฺยา
|
|
|
สตรี.
|
สฺวรฺวธู
|
|
|
สตรี.
|
สฺวธา
|
- ความเอาแต่ใจตัวเอง
- ความดื้อรั้น
- ความพึงพอใจของตนเอง
- อาหารที่เซ่นไหว้วิญญาณบรรพบุรุษ
-
|
|
สตรี.
|
สฺถาลี
|
- จานหรือภาชนะก้นแบนและตื้นที่ทำด้วยดิน
- หม้อที่ใช้ทำอาหาร
-
|
|
สตรี.
|
สฺถาปนา
|
|
|
สตรี.
|
สฺถลี
|
|
|
สตรี.
|
สฺถูณา
|
|
|
สตรี.
|
สธรฺมจาริณี
|
- ภรรยาที่แต่งงานถูกต้องตามกฎหมาย
-
|
|
สตรี.
|
สฺยนฺทินี
|
|
|
สตรี.
|
สปฺตติ
|
|
|
สตรี.
|
ตฤษฺ
|
- ความกระหายน้ำ
- ความปรารถนาอันแรงกล้า
-
|
|
สตรี.
|
ตฤษฺณา
|
- ความกระหาย
- ความปรารถนาอันแรงกล้า
-
|
|
สตรี.
|
ตฤณาวรฺต
|
|
|
สตรี.
|
ตฤณชลูกา
|
|
|
สตรี.
|
ตฤปฺติ
|
- ความพึงพอใจ
- สันโดษ
- ความสันโดษ
- ความมักน้อย
-
|
|
สตรี.
|
ตฤตียา
|
- วันที่ 3 ของปักษ์จันทรคติ
- วิภักติที่ 3 (ในทางไวยากรณ์) ซึ่งเป็นวิภักติที่เกี่ยวกับเครื่องมือการกระทำ
-
|
|
สตรี.
|
ตามฺรปรฺณี
|
- ชื่อของแม่น้ำที่อยู่ทางตอนใต้ของอินเดีย
-
|
|
สตรี.
|
ตาฑี
|
|
|
สตรี.
|
ตาฑนี
|
|
|
สตรี.
|
ตาฑิ
|
|
|
สตรี.
|
ตาลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ตาติ
|
|
|
สตรี.
|
ตาลี
|
|
|
สตรี.
|
ตามฺพูลี
|
|
|
สตรี.
|
ตามรสี
|
|
|
สตรี.
|
ตามสี
|
- คืนเดือนมืด
- การนอนหลับ
- พระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
ตาปี
|
- แม่น้ำตาปตีหรือแม่น้ำยมุนา
-
|
|
สตรี.
|
ตารณี
|
|
|
สตรี.
|
ตารา
|
- ดาว
- ดาวเคราะห์
- รูม่านตา
- ไข่มุก
-
|
|
สตรี.
|
ตารณิ
|
|
|
สตรี.
|
ตารกิณี
|
- คืนที่มองเห็นดวงดาว
- คืนที่เต็มไปด้วยดวงดาว
-
|
|
สตรี.
|
ตรุภุชฺ
|
|
|
สตรี.
|
ตรุณี
|
- หญิงสาวผู้อ่อนเยาว์
- หญิงพรหมจารี
- หญิงที่ยังบริสุทธิ์
-
|
|
สตรี.
|
ตรุรุหา
|
|
|
สตรี.
|
ไตลินี
|
|
|
สตรี.
|
ตฑิตฺ
|
|
|
สตรี.
|
ตมิ
|
|
|
สตรี.
|
ตมิสฺรา
|
|
|
สตรี.
|
ตนฺตฺริ
|
- เชือก
- ด้าย
- เชือกร้อย
- สายร้อย
- สายของพิณ
|
|
สตรี.
|
ตนฺทฺริ
|
|
|
สตรี.
|
ตฏินี
|
|
|
สตรี.
|
ตริ
|
- เรือ
- กล่องสำหรับใส่เสื้อผ้า
-
|
|
สตรี.
|
ตริกา
|
|
|
สตรี.
|
ตลฺลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ตรฺชนี
|
|
|
สตรี.
|
ตรฺกวิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ตมี
|
|
|
สตรี.
|
ตมสฺวินี
|
|
|
สตรี.
|
ตนฺตฺรี
|
- เชือก
- ด้าย
- เชือกร้อย
- สายร้อย
- สายของพิณ
|
|
สตรี.
|
ตนฺทฺรา
|
- ความอ่อนเพลีย
- ความเกียจคร้าน
-
|
|
สตรี.
|
ตนฺทฺรี
|
|
|
สตรี.
|
ตนุ
|
|
|
สตรี.
|
ตนู
|
|
|
สตรี.
|
ตนุชา
|
|
|
สตรี.
|
ตนฺวงฺคี
|
|
|
สตรี.
|
ตนฺวี
|
- ผู้หญิงอ้อนแอ้นหรือบอบบาง
-
|
|
สตรี.
|
ตนยา
|
|
|
สตรี.
|
ตปะสฺถลี
|
- สถานที่แห่งการบำเพ็ญตบะ
- ชื่อของเมืองพาราณสี
-
|
|
สตรี.
|
ตปศฺจรฺยา
|
- การทรมานร่างกาย
- การบำเพ็ญตบะ
-
|
|
สตรี.
|
ตปนี
|
|
|
สตรี.
|
ตปตี
|
|
|
สตรี.
|
ตฏี
|
- ตลิ่ง
- ฝั่ง
- ชายฝั่ง
- ชายทะเล
- ชายหาด
|
|
สตรี.
|
ตรณี
|
|
|
สตรี.
|
ตรํคิณี
|
|
|
สตรี.
|
ตรี
|
- เรือ
- กล่องสำหรับใส่เสื้อผ้า
-
|
|
สตรี.
|
ตรนฺตี
|
|
|
สตรี.
|
ตลฺลี
|
|
|
สตรี.
|
ตสฺกรี
|
- ผู้หญิงที่น่าหลงใหล
- ผู้หญิงที่เร่าร้อน
-
|
|
สตรี.
|
ตุงฺคี
|
|
|
สตรี.
|
ตุณฺฑิ
|
|
|
สตรี.
|
ตุหินศรฺกรา
|
|
|
สตรี.
|
ตูลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ตุมฺพิ
|
- พืชจำพวกน้ำเต้าและบวบชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ตุษฺฏิ
|
- ความพึงพอใจ
- ความสุข
- ความปีติยินดี
-
|
|
สตรี.
|
ตุลา
|
- ตาชั่ง
- คันชั่ง
- การตวงวัด
- การชั่งน้ำหนัก
- ความเหมือนกัน
|
|
สตรี.
|
ตูลา
|
|
|
สตรี.
|
ตูลี
|
|
|
สตรี.
|
ตุลนา
|
- การเปรียบเทียบ
- การยก
- การชั่งน้ำหนัก
- การตรวจสอบ
-
|
|
สตรี.
|
ตุลสี
|
|
|
สตรี.
|
ตุลฺยโยคิตา
|
|
|
สตรี.
|
ตุมฺพา
|
|
|
สตรี.
|
ตุมฺพี
|
- พืชจำพวกน้ำเต้าและบวบชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ตุนฺทกูปิกา
|
|
|
สตรี.
|
ตุนฺทกูปี
|
|
|
สตรี.
|
ตุรํคี
|
|
|
สตรี.
|
ตุรคี
|
|
|
สตรี.
|
ตุรี
|
|
|
สตรี.
|
ตฺวจฺ
|
- ผิวหนัง
- หนัง (ของสัตว์)
- เปลือกไม้
- เปลือก
- การสัมผัส
|
|
สตรี.
|
ตฺวจา
|
- ผิวหนัง
- หนัง (ของสัตว์)
- เปลือกไม้
- เปลือก
- การสัมผัส
|
|
สตรี.
|
ตฺวริ
|
- ความรีบเร่ง
- ความรวดเร็ว
- ความรีบร้อน
-
|
|
สตรี.
|
ตฺวรา
|
- ความรีบเร่ง
- ความรวดเร็ว
- ความรีบร้อน
-
|
|
สตรี.
|
หฤณียา
|
|
|
สตรี.
|
หฤษฺฏิ
|
- ความยินดี
- ความสุข
- ความภาคภูมิใจ
- ความหยิ่งยโส
- ความจองหอง
|
|
สตรี.
|
หฤติ
|
- การจับกุม
- การยึด
- การขโมย
- การทำลาย
-
|
|
สตรี.
|
กฺษฺมา
|
|
|
สตรี.
|
กฺษฺเวลา
|
- การเล่น
- การพูดตลก
- เรื่องตลก
-
|
|
สตรี.
|
วรฺณมาลา
|
|
|
สตรี.
|
วรฺณมาตฤ
|
|
|
สตรี.
|
วรฺณนา
|
- การทาสี
- การพรรณนา
- การสรรเสริญ
-
|
|
สตรี.
|
วรฺณตูลิ
|
|
|
สตรี.
|
วรฺณตูลิกา
|
|
|
สตรี.
|
วรฺณตูลี
|
|
|
สตรี.
|
วฤษลี
|
- หญิงที่มีอายุ 12 ปีที่ยังไม่แต่งงาน ซึ่งเพิ่งมีประจำเดือนอยู่
- หญิงที่อยู่ระหว่างมีประจำเดือน
-
|
|
สตรี.
|
วฤกฺษวาฏิกา
|
- สวนหรือบริเวณป่าเล็ก ๆ ที่อยู่ใกล้สถานที่อยู่อาศัยของเสนาบดีของรัฐ
-
|
|
สตรี.
|
วฤกฺษวาฏี
|
- สวนหรือบริเวณป่าเล็ก ๆ ที่อยู่ใกล้สถานที่อยู่อาศัยของเสนาบดีของรัฐ
-
|
|
สตรี.
|
วฤตฺติ
|
- เส้นรอบวง
- พฤติกรรม
- รูปแบบของการประพันธ์ (บทละคร)
- อาชีพ
- คำอธิบาย
|
|
สตรี.
|
วฤทฺธิ
|
- การเติบโต
- การเพิ่มขึ้น
- ความมั่งคั่ง
- การแทนที่สระเสียงสั้นหรือสระเสียงยาวด้วยสระขั้นพฤทธิหรือวฤทธิ (ไวยากรณ์)
-
|
|
สตรี.
|
วฤษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
วฤติ
|
- การขอร้อง
- การวิงวอน
- รั้ว
- เครื่องกั้น
-
|
|
สตรี.
|
วฤนฺทา
|
|
|
สตรี.
|
วํศี
|
- ขลุ่ย
- เส้นเลือดแดงหรือเส้นเลือดดำ
-
|
|
สตรี.
|
วโกฺรกฺติ
|
- การพูดอ้อมค้อม
- การพูดแฝงนัย
- การเหน็บแนม
- วิธีการแสดงออกทางอ้อม
-
|
|
สตรี.
|
วาณี
|
- พระแม่สรัสวตีผู้เป็นเทวีแห่งถ้อยคำ
- คำพูด
- ถ้อยคำ
- ภาษา
- เสียง
|
|
สตรี.
|
วารฺตฺตา
|
|
|
สตรี.
|
วาญฺฉา
|
|
|
สตรี.
|
วาจฺ
|
- คำพูด
- ภาษา
- การพูด
- ถ้อยคำ
- เสียง
|
|
สตรี.
|
วาจา
|
- คำพูด
- ถ้อยคำ
- คำ
- คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์
- คำที่ศักดิ์สิทธิ์
|
|
สตรี.
|
วารุณี
|
- สุรา
- ทิศตะวันตก
- เทวีแห่งสุรา
-
|
|
สตรี.
|
วาคุรา
|
|
|
สตรี.
|
วาหินี
|
|
|
สตรี.
|
วาชิศาลา
|
|
|
สตรี.
|
วานฺติ
|
- การอาเจียน
- การพ่นออกมาจากปาก
-
|
|
สตรี.
|
วาปิกา
|
- บ่อน้ำ
- สระน้ำ
- หนองน้ำ
- สระน้ำหรือที่มีรูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือรูปรีหรือรูปไข่ขนาดใหญ่
-
|
|
สตรี.
|
วาฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
วาริ
|
|
|
สตรี.
|
วาริตฺรา
|
|
|
สตรี.
|
วาศิตา
|
|
|
สตรี.
|
วากฺยปทฺธติ
|
- รูปแบบ
- ลีลา
- วิธีการหรือหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการสร้างประโยค
-
|
|
สตรี.
|
วากฺยรจนา
|
- การสร้างประโยค
- วากยสัมพันธ์
-
|
|
สตรี.
|
วาลุกา
|
|
|
สตรี.
|
วามา
|
- ผู้หญิง
- พระแม่ลักษมี
- พระแม่สรัสวตี
-
|
|
สตรี.
|
วามี
|
- ลาตัวเมีย
- ม้าตัวเมีย
- ช้างตัวเมีย
-
|
|
สตรี.
|
วญฺจนา
|
|
|
สตรี.
|
วาปี
|
- บ่อน้ำ
- สระน้ำ
- หนองน้ำ
- สระน้ำหรือที่มีรูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือรูปรีหรือรูปไข่ขนาดใหญ่
-
|
|
สตรี.
|
วาฏี
|
- บ้าน
- สวน
- ถนน
- ตำแหน่งที่ตั้งของบ้าน
-
|
|
สตรี.
|
วารณสี
|
|
|
สตรี.
|
วาราหี
|
|
|
สตรี.
|
วารี
|
|
|
สตรี.
|
วารนารี
|
|
|
สตรี.
|
วาสนา
|
- ความรู้ที่ได้มาจากความทรงจำ
- ความโง่
- จินตนาการ
- ความปรารถนา
-
|
|
สตรี.
|
วาสนฺตี
|
|
|
สตรี.
|
วาตฺยา
|
- ลมแรง
- พายุ
- พายุหมุน
- พายุเฮอริเคน
-
|
|
สตรี.
|
วายวี
|
|
|
สตรี.
|
วทนฺตี
|
- คำพูด
- ข่าวลือ
- เรื่องเล่า
- นิทาน
-
|
|
สตรี.
|
วรุณาจี
|
|
|
สตรี.
|
เวณี
|
- ผมเปีย
- กระแส
- เขื่อนกั้น
- สะพาน
-
|
|
สตรี.
|
ไวเทหี
|
|
|
สตรี.
|
ไวเทหิ
|
|
|
สตรี.
|
เวที
|
|
|
สตรี.
|
เวทนา
|
- ความรู้สึก
- ความเจ็บปวด
- ความทุกข์ทรมาน
-
|
|
สตรี.
|
เวทิ
|
- ผู้รอบรู้
- ฤาษี
- นักปราชญ์
- แท่นบูชา
- แหวนตรา
|
|
สตรี.
|
เวคินี
|
|
|
สตรี.
|
วรูถินี
|
|
|
สตรี.
|
ไวชยนฺติกา
|
|
|
สตรี.
|
ไวชยนฺตี
|
- ธง
- พวงมาลัย
- สร้อยคอ
- สร้อยคอของพระวิษณุ
- ชื่อของผลงาน ต่าง ๆ มากมาย
|
|
สตรี.
|
เวลา
|
- เวลา
- ฤดูกาล
- โอกาส
- กระแสน้ำ
- การไหล
|
|
สตรี.
|
ไวขรี
|
|
|
สตรี.
|
ไวรศุทฺธิ
|
|
|
สตรี.
|
ไวตรณี
|
- ชื่อแม่น้ำในนรก
- ชื่อแม่น้ำในแคว้นกาลิงคะ
-
|
|
สตรี.
|
ไวตรณิ
|
- ชื่อแม่น้ำในนรก
- ชื่อแม่น้ำในแคว้นกาลิงคะ
-
|
|
สตรี.
|
เวตสี
|
- หวาย
- กก
- อ้อย
- ไม้จำพวกที่มีต้นยาวเป็นปล้อง
-
|
|
สตรี.
|
เวศนารี
|
|
|
สตรี.
|
เวศวนิตา
|
|
|
สตรี.
|
เวศฺยา
|
|
|
สตรี.
|
วฑภี
|
|
|
สตรี.
|
วฑวา
|
- ม้าตัวเมีย
- นางทาสี
- นางฟ้าอัศวินี
- โสเภณี
-
|
|
สตรี.
|
วีณา
|
- เครื่องดนตรีประเภทพิณชนิดหนึ่งของอินเดีย
-
|
|
สตรี.
|
วณิชฺ
|
|
|
สตรี.
|
วณิชฺยา
|
|
|
สตรี.
|
วรฺณินี
|
|
|
สตรี.
|
วีจี
|
- คลื่น
- ความปีติยินดี
- เวลาว่าง
- การพักผ่อน
-
|
|
สตรี.
|
วีรุธฺ
|
|
|
สตรี.
|
วีรุธา
|
|
|
สตรี.
|
วหิวี
|
|
|
สตรี.
|
วีจิ
|
- คลื่น
- ความปีติยินดี
- เวลาว่าง
- การพักผ่อน
-
|
|
สตรี.
|
วีฏิ
|
|
|
สตรี.
|
วีติ
|
- การเคลื่อนไหว
- การไป
- แสงสว่าง
-
|
|
สตรี.
|
วีถิ
|
|
|
สตรี.
|
วนิ
|
|
|
สตรี.
|
วนิกา
|
|
|
สตรี.
|
วนิตา
|
- ผู้หญิง
- ภรรยา
- หญิงผู้เป็นที่รัก
-
|
|
สตรี.
|
วีปฺสา
|
|
|
สตรี.
|
วีฏี
|
|
|
สตรี.
|
วฏิกา
|
- สิ่งที่เป็นรูปทรงกลมเล็ก ๆ
- ยาเม็ดเล็ก ๆ
-
|
|
สตรี.
|
วริวสฺยา
|
- การบูชา
- การยกย่อง
- ความเคารพ
-
|
|
สตรี.
|
วลฺลิ
|
|
|
สตรี.
|
วรฺติ
|
- ยาที่ใช้ทา
- ยาหยอดตา
- ไส้ตะเกียง
- เส้น
- รอย
|
|
สตรี.
|
วรฺติกา
|
|
|
สตรี.
|
วีถี
|
|
|
สตรี.
|
วลฺคา
|
|
|
สตรี.
|
วนี
|
|
|
สตรี.
|
วนมาลา
|
|
|
สตรี.
|
วนฺธฺยา
|
- หญิงที่ไม่มีลูก
- หญิงที่เป็นหมัน
-
|
|
สตรี.
|
วนฺยา
|
|
|
สตรี.
|
วสฺตฺรปุตฺริกา
|
- ตุ๊กตาหรือหุ่นเชิดที่ทำจากผ้า
-
|
|
สตรี.
|
วธฺรี
|
|
|
สตรี.
|
วปา
|
|
|
สตรี.
|
วฏี
|
|
|
สตรี.
|
วราฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
วรทา
|
- เด็กผู้หญิง
- หญิงสาว
- สาวบริสุทธิ์
-
|
|
สตรี.
|
วรฏา
|
|
|
สตรี.
|
วรฏี
|
|
|
สตรี.
|
วรตนุ
|
- ผู้หญิงที่สง่างาม
- หญิงที่งดงาม
-
|
|
สตรี.
|
วสา
|
|
|
สตรี.
|
วสติ
|
|
|
สตรี.
|
วลฺลกี
|
|
|
สตรี.
|
วสนฺตทูตี
|
|
|
สตรี.
|
วลฺลรี
|
|
|
สตรี.
|
วสตี
|
|
|
สตรี.
|
วสุทา
|
|
|
สตรี.
|
วสุมตี
|
|
|
สตรี.
|
วสุนฺธรา
|
|
|
สตรี.
|
วสุธา
|
|
|
สตรี.
|
วรฺตี
|
- ยาที่ใช้ทา
- ยาหยอดตา
- ไส้ตะเกียง
- เส้น
- รอย
|
|
สตรี.
|
วรฺตฺมนิ
|
|
|
สตรี.
|
วรฺตฺมนี
|
|
|
สตรี.
|
วรฺตนี
|
|
|
สตรี.
|
วตฺสตรี
|
|
|
สตรี.
|
วรฺธนี
|
|
|
สตรี.
|
วธุ
|
|
|
สตรี.
|
วธู
|
- เจ้าสาว
- ภรรยา
- ลูกสะใภ้
- ผู้หญิง
-
|
|
สตรี.
|
วธุกา
|
|
|
สตรี.
|
วธูฏี
|
|
|
สตรี.
|
วธฺยา
|
|
|
สตรี.
|
วฺยาปฺติ
|
- การแพร่กระจายไปทั่ว
- การซึมเข้าไป
-
|
|
สตรี.
|
วฺยาโชกฺติ
|
- การพูดเป็นนัย
- เนื้อความที่ซ่อนเร้น
-
|
|
สตรี.
|
วฺยาชสฺตุติ
|
|
|
สตรี.
|
วฺยากฤติ
|
|
|
สตรี.
|
วฺยากูติ
|
|
|
สตรี.
|
วฺยาขฺยา
|
- การเล่าเรื่อง
- การอธิบาย
- คำอธิบายอย่างละเอียด
-
|
|
สตรี.
|
วฺยาปฤติ
|
- การว่าจ้าง
- การงาน
- ความพยายาม
-
|
|
สตรี.
|
วฺยาปตฺติ
|
|
|
สตรี.
|
วฺยาหฤติ
|
- การพูด
- คำพูด
- คำที่เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนา
- แถลงการณ์
-
|
|
สตรี.
|
วฺยาวฤตฺติ
|
- การปิดบัง
- การแยกออกไป
- การล้อมรอบ
- การสรรเสริญ
- คำสรรเสริญ
|
|
สตรี.
|
วฺยวฤติ
|
- การแยกออกไป
- การปิดบัง
- การเอาออก
-
|
|
สตรี.
|
วฺยกฺติ
|
- การแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัด
- บุคคล
- ความชัดเจน
- เพศ (ไวยากรณ์)
- แหล่งกำเนิด
|
|
สตรี.
|
วฺยภิจาริณี
|
|
|
สตรี.
|
วฺยษฺฏิ
|
- ผลรวม
- ความเป็นเอกเทศ
- การบรรลุผลสำเร็จ
-
|
|
สตรี.
|
วฺยปากฤติ
|
|
|
สตรี.
|
วฺยเปกฺษา
|
- ความหวัง
- การพิจารณา
- การพึ่งพาอาศัยกัน
-
|
|
สตรี.
|
วฺยูติ
|
|
|
สตรี.
|
วฺยุตฺปตฺติ
|
- นิรุกติศาสตร์
- การเรียนรู้
- แหล่งที่มา
-
|
|
สตรี.
|
วฺยวาสฺถิติ
|
- การจัดการ
- การตัดสินใจ
- กฎ
- ระเบียบ
- ความมั่นคง
|
|
สตรี.
|
วฺยวสฺถา
|
- การจัดการ
- การปรับเปลี่ยน
- ความมั่นคง
- กฎหมาย
- ข้อตกลง
|
|
สตรี.
|
วฺยวหฤติ
|
|
|
สตรี.
|
วฺยวธา
|
- ม่าน
- ที่บัง
- ที่ปิด
- ฉากกั้น
- ผนังกั้น
|
|
สตรี.
|
วฺยถา
|
- ความกลัว
- ความเจ็บปวด
- ความทรมาน
-
|
|
สตรี.
|
วศา
|
- แม่วัว
- แม่วัวที่เป็นหมัน
- ภรรยา
- ผู้หญิง
- ลูกสาว
|
|
สตรี.
|
วศฺยา
|
|
|
สตรี.
|
วศฺยกา
|
|
|
สตรี.
|
ธรฺษณา
|
- ความโอ้อวด
- ความเย่อหยิ่ง
- การดูถูก
- การล่วงละเมิด
- การทำร้าย
|
|
สตรี.
|
ธรฺษณี
|
|
|
สตรี.
|
ธรฺษณิ
|
|
|
สตรี.
|
ธฤติ
|
- การถือไว้
- การจับไว้
- การมี
- การครอบครอง
- การถือครอง
|
|
สตรี.
|
ธาตฺรี
|
- พยาบาล
- หมอตำแย
- แม่นม
- แม่
- แผ่นดิน
|
|
สตรี.
|
โธรณิ
|
- ความต่อเนื่องที่ไม่ขาดสาย
- ประเพณี
-
|
|
สตรี.
|
โธรณี
|
- ความต่อเนื่องที่ไม่ขาดสาย
- ประเพณี
-
|
|
สตรี.
|
ธาริณี
|
|
|
สตรี.
|
ธานา
|
- ข้าวทอดหรือข้าวบาร์เลย์ทอด
- เมล็ดข้าวที่ถูกทอดหรือถูกบดเป็นผง
- ข้าวโพด
- ผักชี
- ต้นอ่อน
|
|
สตรี.
|
ธานี
|
- ที่รองรับ
- ที่นั่ง
- ภาชนะที่ใส่
-
|
|
สตรี.
|
ธาฏี
|
- การจู่โจม
- การโจมตีอย่างรุนแรง
- การโจมตีโดยไม่คาดคิด
-
|
|
สตรี.
|
ธารณา
|
- การถือ
- การเก็บ
- การรักษา
- ความทรงจำ
- ความมั่นคง
|
|
สตรี.
|
ธารณี
|
- แถว
- เส้น
- หลอดเลือดดำ
- โลก
- แผ่นดิน
|
|
สตรี.
|
ธารา
|
- ลำธาร
- กระแสน้ำ
- ฝนโปรย
- ห่าฝน
- ฝักบัว
|
|
สตรี.
|
ธารยิตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
ธาตุกฺริยา
|
- วิธีการแยกโลหะออกจากแร่
- โลหะวิทยา
-
|
|
สตรี.
|
เธนุ
|
- แม่โค
- แผ่นดิน, (คำแสดงเพศหญิงของสัตว์ใช้เติมหลังชื่อของสัตว์นั้น ๆ)
-
|
|
สตรี.
|
เธนุกา
|
|
|
สตรี.
|
ธี
|
- ปัญญา
- จิตใจ
- แนวคิด
- การบูชายัญ
- ยัญพิธี
|
|
สตรี.
|
ธีติ
|
|
|
สตรี.
|
ธนิกา
|
- กุลสตรี
- หญิงที่บริสุทธิ์หรือที่ดีงาม
-
|
|
สตรี.
|
ธฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
ธีรา
|
|
|
สตรี.
|
ธริตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
ธีรตา
|
- ความอดทน
- ความแข็งแกร่ง
- ความมั่นคง
- ความหนักแน่น
- ความเฉลียวฉลาด
|
|
สตรี.
|
ธีวรี
|
- ภรรยาชาวประมง
- ตะกร้าใส่ปลา
- ฉมวกสำหรับจับปลาชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ธมนิ
|
- ต้นกก
- ต้นอ้อ
- ท่อหรือหลอดในร่างกายของมนุษย์ เช่น หลอดเลือดดำ เส้นประสาท ฯลฯ
-
|
|
สตรี.
|
ธมนี
|
- ต้นกก
- ต้นอ้อ
- ท่อหรือหลอดในร่างกายของมนุษย์ เช่น หลอดเลือดดำ เส้นประสาท ฯลฯ
-
|
|
สตรี.
|
ธรฺมจาริณี
|
- ภรรยาที่มีคุณงามความดี
- เพื่อนผู้หญิงที่ช่วยเหลือ (โดยเฉพาะคู่ชีวิต) ในการทำให้ภาระหน้าที่บรรลุเป้าหมาย
-
|
|
สตรี.
|
ธรฺมจรฺยา
|
- การปฏิบัติหน้าที่
- การประพฤติธรรม
- การปฏิบัติตามกฎหมาย
-
|
|
สตรี.
|
ธรฺมปตฺนี
|
|
|
สตรี.
|
ธรฺมศาลา
|
|
|
สตรี.
|
ธนายา
|
- ความโลภ
- ความอยากได้ทรัพย์สมบัติ
- ความละโมบ
- ความอยากได้
- ความปรารถนา
|
|
สตรี.
|
ธนู
|
|
|
สตรี.
|
ธนุรฺวิทฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ธฏี
|
|
|
สตรี.
|
ธรณี
|
|
|
สตรี.
|
ธรา
|
- โลก
- พื้นดิน
- แผ่นดิน
- ไขกระดูก
- ครรภ์หรือมดลูก
|
|
สตรี.
|
ธรณิ
|
|
|
สตรี.
|
ธู
|
|
|
สตรี.
|
ธูลี
|
|
|
สตรี.
|
ธูลิกา
|
|
|
สตรี.
|
ธูมิกา
|
|
|
สตรี.
|
ธุนิ
|
|
|
สตรี.
|
ธุนินาถ
|
|
|
สตรี.
|
ธูติ
|
|
|
สตรี.
|
ธุนี
|
|
|
สตรี.
|
ธุรฺ
|
- แอก
- นิ้วมือ
- เพลาของรถม้า
- ภาระ
- ความรับผิดชอบ
|
|
สตรี.
|
ธุรา
|
- ภาระ
- ของบรรทุก
- เครื่องบรรทุก
-
|
|
สตรี.
|
ธฺวชินี
|
|
|
สตรี.
|
ธฺวนินาลา
|
- แตรชนิดหนึ่ง
- เครื่องดนตรีประเภทพิณ
- ขลุ่ย
- ชื่อของเครื่องดนตรีหลายชนิด
-
|
|
สตรี.
|
ธฺวสฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ยทฤจฺฉา
|
- การดื้อดึง
- ความเอาแต่ใจตนเอง
- โอกาส
-
|
|
สตรี.
|
ยาญฺจา
|
|
|
สตรี.
|
ยาตฺรา
|
- การเดินทาง
- การเดินทัพ
- ประเพณี
- ธรรมเนียม
- การเดินทางแสวงบุญ
|
|
สตรี.
|
ยาจนา
|
|
|
สตรี.
|
โยษา
|
|
|
สตรี.
|
โยคนิทฺรา
|
- การบรรทมของพระนารายณ์ในช่วงสุดท้ายของยุค
-
|
|
สตรี.
|
โยคตารา
|
- ดาวประธานของกลุ่มดาวในนักษัตร
-
|
|
สตรี.
|
โยคธารณา
|
- ความต่อเนื่องหรือความเพียรในการทำสมาธิ
- ความมุ่งมั่นในความศรัทธา
-
|
|
สตรี.
|
โยคฺยา
|
- การฝึกฝน
- การปฏิบัติ
- การเตรียม
-
|
|
สตรี.
|
โยคฺยตา
|
|
|
สตรี.
|
โยษิตฺ
|
- ผู้หญิงเยาว์วัย
- เด็กสาว
- หญิงสาว
- ภรรยา
- เพศเมีย (ใช้กับสัตว์หรือสิ่งที่ไม่มีชีวิต)
|
|
สตรี.
|
โยษิตา
|
- ผู้หญิงเยาว์วัย
- เด็กสาว
- หญิงสาว
- ภรรยา
- เพศเมีย (ใช้กับสัตว์หรือสิ่งที่ไม่มีชีวิต)
|
|
สตรี.
|
โยคินี
|
- สาวก
- ผู้ศรัทธา
- ชื่อของพระแม่ทุรคา
- หญิงผู้เป็นบริวารของพระแม่ทุรคา
-
|
|
สตรี.
|
โยชนา
|
- การรวมกัน
- การเชื่อมต่อ
- โครงสร้างทางไวยากรณ์
- โครงการ
-
|
|
สตรี.
|
โยนี
|
- ครรภ์
- โยนี
- แหล่งกำเนิด
- มดลูก
- น้ำ
|
|
สตรี.
|
ยามิกา
|
|
|
สตรี.
|
ยามิกานี
|
|
|
สตรี.
|
ยามวตี
|
|
|
สตรี.
|
ยามฺยา
|
|
|
สตรี.
|
ยาปนา
|
- การขับไล่
- การรักษาหรือการบรรเทาอาการ (โรค)
- การใช้เวลา
- การค้ำจุน
- การธำรงไว้
|
|
สตรี.
|
ยาตฺฤ
|
- ภรรยาของพี่ชายหรือของน้องชายของสามี
-
|
|
สตรี.
|
ยาตนา
|
- ความทุกข์ทรมาน
- ความทุกข์ทรมานที่เกิดจากยมราชลงโทษ
-
|
|
สตรี.
|
หฺรี
|
- ความอับอาย
- ความอัปยศ
- ความอาย
- ความอ่อนน้อม
- ความสุภาพ
|
|
สตรี.
|
ยกฺษิณี
|
|
|
สตรี.
|
หฺรทินี
|
|
|
สตรี.
|
ยษฺฏิ
|
- ไม้เท้า
- กิ่งก้าน
- เสา
- คทา
- สายสร้อย
|
|
สตรี.
|
ยษฺฏิกา
|
- ไม้เท้า
- กิ่งก้าน
- เสา
- คทา
- สายสร้อย
|
|
สตรี.
|
ยติ
|
- การยับยั้ง
- การควบคุม
- การอดกลั้น
- การหยุด
-
|
|
สตรี.
|
ยมนิกา
|
|
|
สตรี.
|
ยมุนา
|
|
|
สตรี.
|
ยนฺตฺรณา
|
- การยับยั้ง
- การหน่วงเหนี่ยว
- การอดกลั้น
- การบังคับ
- ความเจ็บปวด
|
|
สตรี.
|
ยษฺฏี
|
- ไม้เท้า
- กิ่งก้าน
- เสา
- คทา
- สายสร้อย
|
|
สตรี.
|
ยุกฺติ
|
- วิธีการ
- แผนการ
- ความสามารถ
- ทักษะ
- การเชื่อมต่อ
|
|
สตรี.
|
ยุติ
|
- การรวมกัน
- จำนวนรวม
- การเชื่อมต่อ
- การกุมกันของดาว (โหราศาสตร์)
-
|
|
สตรี.
|
ยูติ
|
- การรวมกัน
- การผสม
- การเชื่อมต่อ
-
|
|
สตรี.
|
ยูกา
|
- แมลงปรสิต เช่น เหา, โลน, ไร, หมัด, เห็บ
-
|
|
สตรี.
|
ยุวติ
|
|
|
สตรี.
|
ยุวตี
|
|
|
สตรี.
|
ยุธฺ
|
|
|
สตรี.
|
ยุยุตฺสา
|
|
|
สตรี.
|
ยวาคู
|
- ข้าวต้ม
- โจ๊กหรือข้าวต้มที่มีรสเปรี้ยวทำจากข้าวหรือทำจากเมล็ดธัญพืชชนิดอื่น ๆ เช่น ข้าวบาเล่ย์
-
|
|
สตรี.
|
ยวนิกา
|
- ผู้หญิงชาวกรีกหรือภรรยาของชาวกรีก
- ม่าน
-
|
|
สตรี.
|
ยวนี
|
- ผู้หญิงชาวกรีกหรือภรรยาของชาวกรีก
- ม่าน
-
|
|
สตรี.
|
ศษฺกุลี
|
- ช่องรูหู
- ขนมทอดที่ทำจากข้าว น้ำตาล และงา
- ปลาชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ศงฺกา
|
- ความสงสัย
- ความไม่แน่ใจ
- ความคลางแคลงใจ
- ความหวาดกลัว
- ความหวัง
|
|
สตรี.
|
ศฤงฺขลา
|
|
|
สตรี.
|
ศาณี
|
- หินลับมีด
- เลื่อย
- ผ้าที่ทำจากปอหรือป่าน
-
|
|
สตรี.
|
โศภา
|
- แสงสว่าง
- ความสว่าง
- ความงดงาม
- ความสง่างาม
- เครื่องประดับ
|
|
สตรี.
|
โศธนี
|
|
|
สตรี.
|
ศากินี
|
- สวนผัก
- ปีศาจเพศหญิงประเภทหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ศาลิ
|
|
|
สตรี.
|
ศาลินี
|
|
|
สตรี.
|
ศานฺติ
|
- ความเงียบ
- ความสงบ
- สันติภาพ
- ความสุข
- การพักผ่อน
|
|
สตรี.
|
ศาลภญฺชิกา
|
|
|
สตรี.
|
ศาลา
|
- ศาลา
- บ้าน
- ที่อยู่อาศัย
- คอกสัตว์
-
|
|
สตรี.
|
ศาลฺมลิ
|
- ชื่อของต้นไม้
- ชื่อของทวีปหนึ่งในจำนวนเจ็ดทวีป
-
|
|
สตรี.
|
ศาลฺมลี
|
- ชื่อของต้นไม้
- ชื่อของทวีปหนึ่งในจำนวนเจ็ดทวีป
-
|
|
สตรี.
|
ศาศฺวตี
|
|
|
สตรี.
|
ศาขา
|
- กิ่งก้าน (ของต้นไม้)
- สาขา
- ท่อน
- ตอน
- ส่วน
|
|
สตรี.
|
ศาฏี
|
|
|
สตรี.
|
ศารทา
|
- ชื่อของพระแม่สรัสวตี
- เครื่องดนตรีประเภทสายชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ศารที
|
- วันพระจันทร์เต็มดวงในเดือนการติกะ (หรือเดือนอาศวินะ)
-
|
|
สตรี.
|
ศจี
|
|
|
สตรี.
|
ไศลี
|
- นิสัย
- ความประพฤติ
- รูปแบบการแสดงออกหรือรูปแบบการอธิบาย
-
|
|
สตรี.
|
เศมุษี
|
|
|
สตรี.
|
เศวลินี
|
|
|
สตรี.
|
ศกฺติ
|
- อำนาจ
- กำลัง
- ความสามารถ
- ความแข็งแรง
- อาวุธที่ยิงออกไปประเภทหนึ่ง
|
|
สตรี.
|
ศจิ
|
|
|
สตรี.
|
ศมิ
|
|
|
สตรี.
|
ศงฺขินี
|
- ชื่อลักษณะสตรีประเภทหนึ่งใน 4 ประเภท
-
|
|
สตรี.
|
ศสฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ศีตลา
|
|
|
สตรี.
|
ศศิกลา
|
|
|
สตรี.
|
ศกฏิกา
|
|
|
สตรี.
|
ศรฺกรา
|
- น้ำตาล
- ก้อนกรวด
- ก้อนหินขนาดเล็ก
-
|
|
สตรี.
|
ศลากา
|
- ลูกศร
- ไม้เท้าเล็ก ๆ
- หอกซัด
- หน่ออ่อน
-
|
|
สตรี.
|
ศมฺพรี
|
|
|
สตรี.
|
ศมี
|
|
|
สตรี.
|
ศมฺปา
|
- ฟ้าแลบ
- ฟ้าผ่า
- เข็มขัด
- สายคาด
-
|
|
สตรี.
|
ศสฺตฺรี
|
|
|
สตรี.
|
ศฏา
|
- มุ่นมวยผมหรือผมที่ขมวดเกล้าขึ้นสูงของฤาษีหรือดาบส
-
|
|
สตรี.
|
ศรทฺ
|
|
|
สตรี.
|
ศรทา
|
|
|
สตรี.
|
ศรีรยาตฺรา
|
|
|
สตรี.
|
ศรีรยษฺฏิ
|
|
|
สตรี.
|
ศตฆฺนี
|
- อาวุธที่ใช้ยิงออกไปชนิดหนึ่ง
-
|
|
สตรี.
|
ศตฺวรี
|
|
|
สตรี.
|
ศุภางฺคี
|
|
|
สตรี.
|
ศุณฺฑา
|
|
|
สตรี.
|
ศุณฺฐี
|
|
|
สตรี.
|
ศุจฺ
|
|
|
สตรี.
|
ศุจา
|
|
|
สตรี.
|
ศุกฺติ
|
|
|
สตรี.
|
ศุกฺติกา
|
|
|
สตรี.
|
ศุณฺฐิ
|
|
|
สตรี.
|
ศุทฺธิ
|
- ความบริสุทธิ์
- ความสะอาด
- ความสว่าง
- ความศักดิ์สิทธิ์
- ความจริง
|
|
สตรี.
|
ศูรฺมิ
|
|
|
สตรี.
|
ศูรฺมิกา
|
|
|
สตรี.
|
ศุศฺรูษา
|
- การรับใช้
- การเชื่อฟัง
- การพูด
-
|
|
สตรี.
|
ศุนี
|
|
|
สตรี.
|
ศูทฺรา
|
|
|
สตรี.
|
ศูทฺราณี
|
|
|
สตรี.
|
ศูทฺรี
|
|
|
สตรี.
|
ศรฺวรี
|
|
|
สตรี.
|
ศฺยามิกา
|
- ความดำมืด
- ความไม่บริสุทธิ์
-
|
|
สตรี.
|
ศฺยามา
|
- หญิงที่มีผิวคล้ำ
- กลางคืน
- ร่มเงา
- เงา
- แม่วัว
|
|
สตรี.
|
ศยฺยา
|
|